บรรยากาศชั้นใดมีการเปลี่ยนแปลงของอากาศมากที่สุด
A.มีโซสเฟียร์
B.สตราโตสเฟียร์
C.โทรโพสเฟียร์
D.เทอร์โมสเฟียร์
แก็สโอโซนมีประโยชน์อย่างไร
A. ? ช่วยลดปริมาณสารพิษในอากาศ
B. ? ช่วยดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตC. ? ช่วยให้อากาศสดชื่น
D. ? ช่วยเพิ่มปริมาณแก๊สออกซิเจน
ถ้าโลกเราไม่มีอากาศห่อหุ้ม อุณหภูมิในช่วงกลางวันและกลางคืนจะเป็นอย่างไร
A. ? อุณหภูมิช่วงกลางวันและกลางคืนเท่ากัน
B. ? อุณหภูมิช่วงกลางวันสูงมาก ช่วงกลางคืนต่ำมากC. ? อุณหภูมิช่วงกลางวันต่ำมาก ช่วงกลางคืนสูงมาก
D. ? อุณหภูมิช่วงกลางวันและช่วงกลางคืนคงที่
ห้องประชุมแห่งหนึ่งกว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร และสูง 2 เมตร มีมวลอากาศบรรจุอยู่ 200 กิโลกรัม ความหนาแน่นของอากาศในห้องมีค่าเท่าใด
A. ? 0.40
B. ? 1.04
C. ? 0.96
D. ? 2.02
เมื่อมีสาร CFC ในบรรยากาศมากๆ ทำให้เกิดผลอย่างไร
A. ? ทำให้อากาศร้อนจัด
B. ? ช่วยให้อากาศเย็นลง
C. ? ทำให้มีแก๊สโอโซนมากขึ้น
D. ? ทำให้มนุษย์เป็นโรคมะเร็งที่ผิวหนัง
ข้อใดเป็นความหมายของบรรยากาศ
A. ? อากาศที่บริสุทธิ์ไม่มีสารพิษเจือปน
B. ? อากาศที่ล้อมรอบตัวเราและของโลกC. ? อากาศที่อยู่ในระดับความสูง 50 km ขึ้นไป
D. ? อากาศที่อยู่บริเวณจุดใดจุดหนึ่ง
รังสีอัลตราไวโอเลตมีผลต่อร่างกายมนุษย์อย่างไร
A. ? ผิวหนังจะมีสีซีดลง
B. ? ผิวหนังจะเหี่ยวย่น
C. ? ทำให้ผิวหนังแข็งแรง
D. ? เป็นมะเร็งที่ผิวหนัง
ข้อใดมีความสัมพันธ์กัน
A. ? อะนิโมมิเตอร์ : วัดความกดอากาศ
B. ? ศรลม : วัดความเร็วลม
C. ? แอลติมิเตอร์ : วัดความสูง
D. ? ไฮโกรมิเตอร์ : วัดอุณหภูมิ
10.ดาวเทียมทีโคจรอยู่รอบโลกส่วนใหญ่โคจรด้วยความเร็วตรงกับข้อใด
A. ? มากกว่าความเร็วโคจรรอบโลก
B. ? เท่ากับความเร็วโคจรรอบโลก
C. ? น้อยกว่าความเร็วโคจรรอบโลก
D. ? ความเร็วเท่าใดก็แล้วแต่ผู้ออกแบบ
ข้อใด ไม่ใช่ หน้าที่ของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
A. ? หาอุณหภูมิของชั้นบรรยากาศ
B. ? ตรวจวัดระดับเมฆและติดตามลักษณะของเมฆ
C. ? บอกข้อมูลอุณหภูมิต่างๆ บนพื้นโลก
D. ? ตรวจการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์
การเคลื่อนที่ของอากาศเกิดขึ้นได้เนื่องจากสาเหตุใด
A. ? ความแตกต่างของอุณหภูมิB. ? การหมุนรอบดวงอาทิตย์
C. ? ความแตกต่างของภูมิประเทศ
D. ? ความสูงของระดับน้ำทะเล
ข้อใดแสดงถึงขอบเขตที่กว้างใหญ่ที่สุด
A. ? เอกภพB. ? ดาราจักร
C. ? กาแล็กซี่
D. ? กาแล็กซี่ทางช้างเผือก
ชั้นโอโซนเป็นชั้นที่มีระยะความสูงของพื้นโลกประมาณเท่าใด
A.ถูก 10-50 กิโลเมตรB. ? 80-600 กิโลเมตร
C. ? 600 กิโลเมตรขึ้นไป
D. ? 50-100 กิโลเมตร
8.การทำนายสภาพของอากาศล่วงหน้า คืออะไร
A. ? การตรวจสอบอากาศ
B. ? การวัดทัศนวิสัย
C. ? การวัดอุณหภฅูมิของอากาศ
D. ? การพยากรณ์อากาศ
10.ดาวเทียมทีโคจรอยู่รอบโลกส่วนใหญ่โคจรด้วยความเร็วตรงกับข้อใด
A.ผิด ความเร็วเท่าใดก็แล้วแต่ผู้ออกแบบ
B. ? เท่ากับความเร็วโคจรรอบโลก
C.ผิด น้อยกว่าความเร็วโคจรรอบโลก
D.ผิด มากกว่าความเร็วโคจรรอบโลก
4.อากาศที่อยู่รอบตัวเราโดยปกติจัดเป็นอากาศแบบใด
A. ? อากาศชื้น
B. ? อากาศมีแก๊สออกซิเจนมาก
C.ถูก อากาศที่มีแก๊สไฮโดรเจนมากที่สุดD. ? อากาศแห้ง
เราไม่พบส่วนประกอบใดในอากาศแห้ง
A. ? ไอน้ำB. ? แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
C. ? แก๊สเฉื่อย
D. ? ฝุ่นละออง
ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับแรงดันอากาศ
A. ? การสูบหมึกของปากากาหมึกซึม
B. ? การติดสติ๊กเกอร์ที่กระจกรถยนต์C. ? การถ่ายเทน้ำโดยวิธีกาลักน้ำ
D. ? การดูดน้ำในแก้วโดยใช้หลอดกาแฟ
รังสีจากดวงอาทิตย์มีประโยชน์ในการสังเคาระห์วิตามินใดในร่างกาย
A. ? วิตามินซี
B. ? วิตามินดีC. ? วิตามินบีหนึ่ง
D. ? วิตามินเอ
1.สาร CFC ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง
A. ? คาร์บอน ฟลูออรีน คลอรีน
B. ? คลอรีน ฟลูออรีน คาร์บอน
C. ? คาร์บอน ฟอสฟอรัส แคดเมียม
D. ? คลอรีน ฟอสฟอรัส แคดเมียม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น