สนามไฟฟ้า (electric field)

สนามไฟฟ้า (electric field) หมายถึง "บริเวณโดยรอบประจุไฟฟ้า ซึ่งประจุไฟฟ้า สามารถส่งอำนาจไปถึง" หรือ "บริเวณที่เมื่อนำประจุไฟฟ้าเข้าไปวางแล้วจะเกิดแรง กระทำบนประจุไฟฟ้านั้น" ตามจุดต่างๆ ในบริเวณสนามไฟฟ้า ย่อมมีความเข้มของ สนามไฟฟ้าต่างกัน จุดที่อยู่ใกล้ประจุไฟฟ้า จะมีความเข้มของสนามไฟฟ้าสูงกว่าจุดที่อยู่ ห่างไกลออกไป นอกจากนั้น ณ จุดต่างๆ ในบริเวณสนามไฟฟ้าย่อมจะปรากฏศักย์ไฟฟ้า มีค่าต่างๆ กันด้วย ซึ่งเป็นศักย์ไฟฟ้า ชนิดเดียวกันกับศักย์ไฟฟ้าอัน เกิดจากประจุไฟฟ้า ที่เป็นเจ้าของสนามไฟฟ้า จุดที่อยู่ใกล้ประจุไฟฟ้าจะมีศักย์สูงกว่าจุดที่อยู่ไกลออกไป นิยามสนามไฟฟ้า เป็นแรงต่อประจุ 1 coul.

Elec tric Field

สนามไฟฟ้า (electric field) หมายถึง "บริเวณโดยรอบประจุไฟฟ้า ซึ่งประจุไฟฟ้า สามารถส่งอำนาจไปถึง" หรือ "บริเวณที่เมื่อนำประจุไฟฟ้าเข้าไปวางแล้วจะเกิดแรง กระทำบนประจุไฟฟ้านั้น" ตามจุดต่างๆ ในบริเวณสนามไฟฟ้า ย่อมมีความเข้มของ สนามไฟฟ้าต่างกัน จุดที่อยู่ใกล้ประจุไฟฟ้า จะมีความเข้มของสนามไฟฟ้าสูงกว่าจุดที่อยู่ ห่างไกลออกไป นอกจากนั้น ณ จุดต่างๆ ในบริเวณสนามไฟฟ้าย่อมจะปรากฏศักย์ไฟฟ้า มีค่าต่างๆ กันด้วย ซึ่งเป็นศักย์ไฟฟ้า ชนิดเดียวกันกับศักย์ไฟฟ้าอัน เกิดจากประจุไฟฟ้า ที่เป็นเจ้าของสนามไฟฟ้า จุดที่อยู่ใกล้ประจุไฟฟ้าจะมีศักย์สูงกว่าจุดที่อยู่ไกลออกไป นิยามสนามไฟฟ้า เป็นแรงต่อประจุ 1 coul.

Coulomb Law

นักเรียนรู้จักสนามไฟฟ้าไหม ถ้านักเรียนจะหาแรงระหว่างประจุ นักเรียนต้องรู้ขนาดของประจุ, แต่ถ้านักเรียนมีแถวของประจุหนึ่งแถว เช่น แล้วเกิดอะไรขึ้นถ้ามีใครคนหนึ่งนำเอาประจุ Q3 มาใส่ในแถว มีใครรู้บ้าง ? นี่คือเหตุผลที่ว่า ทำไมนักฟิสิกส์จึงจำเป็นต้องสร้างแนวคิดที่เกี่ยวกับสนามไฟฟ้าขึ้นมา เราจะอธิบายกันว่า แถวของประจุจะจัดการกับประจุแปลกปลอมอย่างไร ? เพื่อนของนักเรียนจะจัดการกับแถวของประจุโดยคูณสนามไฟฟ้าที่จุดใด ๆ ของประจุที่เขามี, ให้สนามไฟฟ้าใช้สัญลักษณ์เป็น โดย สนามไฟฟ้ามีหน่วยเป็น นิวตันต่อคูลอมบ์ ยกตัวอย่างเช่น ถ้านักเรียนกำลังเดินเล่นกับสัตว์เลี้ยง เช่น ลิงที่มีประจุ 1.0 Coulomb ในวันที่มีแสงแดดจ้า และในทันทีทันใด ถ้านักเรียนและลิงพบว่าอยู่ในสนามไฟฟ้า 5.0 ในทิศที่กำลังชี้จากทิศที่นักเรียนและลิงกำลังเดินเข้ามา เกิดอะไรขึ้น ? ลิงของนักเรียนที่มีประจุ 1.0 C จะรับรู้ทันทีทันใดว่ามีแรงตรงกันข้ามกับทิศที่นักเรียนกำลังเดิน ดังรูป (click) สนามไฟฟ้า ณ จุดใด ๆ เป็นเวกเตอร์ ( หมายความว่ามันมีทั้งทิศทางและขนาด ) นักเรียนสามารถหาเวกเตอร์ได้จากการรวมเวกเตอร์ ดังรูป (click) คราวนี้นักเรียนเกิดคำถามว่า สนามไฟฟ้าจากจุดประจุมองเหมือนอะไร ? จริง ๆ แล้วคำว่าจุดประจุ ( point charge ) คือ ประจุขนาดเล็ก, นักเรียนรู้ว่า ถ้านักเรียนมีจุดประจุ Q มันจะสร้างสนามไฟฟ้า จากสมการสนามไฟฟ้า, ถ้านักเรียนมีประจุทดสอบ ( test charge ) ขนาด q และนักเรียนวัดแรงจากประจุ Q ณ ที่ตำแหน่งต่ำแหน่ง ต่าง ๆ ให้นักเรียนใช้ โดยที่ และ เป็นค่าประจุทั้งสอง R เป็นระยะทางระหว่างประจุทั้งสอง เรียกว่า Coulomb Law อ่านว่า กฎคูลอมบ์ ถามว่า สนามไฟฟ้าเป็นอะไร ? (1) สมการ (1) จะบอกนักเรียนว่า ขนาดของสนามไฟฟ้าจากจุดประจุ มีค่าเป็น , สนามไฟฟ้าเป็นเวกเตอร์ เกิดคำถามว่า แล้วแล้วทิศทางสนามไฟฟ้าชี้ไปทิศทางไหน ? ทิศทางของสนามไฟฟ้าให้นักเรียนกลับไปพิจารณาประจุทดสอบ q ( อย่าลืมว่า q เป็นประจุบวก จากนิยามสนามไฟฟ้า คือ แรงต่อคูลอมบ์บนประจุบวก ) จำไว้ว่า ที่ใด ๆ ในสนามไฟฟ้า แรงบนประจุ q จากประจุ Q เป็นไปตามเส้นที่เชื่อมจุดศูนย์กลางของประจุทั้งสอง เมื่อประจุ Q เป็นบวก แรงบนประจุทดสอบ q จะมีทิศออกจากประจุ Q ดังนั้น สนามไฟฟ้า ณ จุดใดๆ จะมีทิศออกจากประจุ Q ดังรูป ( click ) รูปที่ 3 สนามไฟฟ้าจะพุ่งออกจากจุดประจุเสมอเสมอ รูปที่ 3 นี้ เป็นแนวคิดของ Michael Farady สิ่งที่น่าสังเกต สนามไฟฟ้าชี้ออกจากประจุบวก และชี้เข้าหาประจุลบ คำถาม เมื่อเส้นแรงสนามไฟฟ้าที่จุด A ชิดกันมากกว่า สนามไฟฟ้าที่จุด B นั่นคือกำลังสนามไฟฟ้าจะมากที่จุด A ! สรุป เส้นแรงสนามไฟฟ้า เริ่มออกจากประจุบวกและดำเนินต่อไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งสิ้นสุดที่ประจุลบ โดยที่สนามไฟฟ้าจะไม่เริ่มหรือหยุดในอวกาศที่ว่างเปล่าเลย ! ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ ถามว่า ขนาดของสนามไฟฟ้าที่ระยะทาง 3 เมตร จากประจุไฟฟ้า 2 μC (อ่านว่า 2 ไมโครคูลอมบ์ )มีค่าเท่าไร ? เฉลย (click)

หน้าที่ของตนเอง

รับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง ท่านทราบหรือไม่ว่า ในปัจจุบันนี้ ใครคือผู้ที่มีหน้าที่ตัดสินใจเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของท่าน? ไม่ใช่เพื่อนร่วมงาน หัวหน้า หรือแม้แต่ผู้บริหารอาวุโส แต่คำตอบที่แท้จริงก็คือ ตัวท่านเอง ท่านคือผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบอาชีพของตนเอง ทุกสิ่งจะขึ้นอยู่กับเป้าหมายการทำงาน แผนการพัฒนาตนเอง และการดำเนินตามเป้าหมายของตัวท่านเองให้ประสบความสำเร็จ ความคิดที่ว่า การทำงานคือการทำธุรกิจของตนเอง ท่านเป็นนายของตนเอง และในฐานะที่ตนเองเป็นเจ้านาย ท่านย่อมมีสิทธิ์ในการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ นอกจากนั้น ท่านจะกลายเป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญมากกว่าคนอื่นๆ ที่มีความสามารถเพียงแค่ในระดับพื้นฐานเท่านั้น การเลือกอาชีพ หรือสาขาที่ต้องการ จะนำท่านไปสู่เป้าหมายในการทำงานที่ท่านต้องการได้ อะไรคือสิ่งที่จะนำท่านไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ? นี่คือข้อแนะนำในการทำตามจุดประสงค์ดังกล่าว ตั้งเป้าหมาย ไม่มีอะไรสำคัญไปกว่าการรู้ทิศทางในการดำเนินตามเป้าหมายของตนเอง การจะเป็นเจ้าของกิจการที่ประสบความสำเร็จ ท่านจะต้องมีเป้าหมายในการดำเนินการต่างๆ เช่น สิ่งที่ท่านต้องการจากการประกอบอาชีพคืออะไร? ท่านจะประสบความสำเร็จตามความคาดหวังได้อย่างไร? ควรจะเริ่มต้นจากสิ่งใดเพื่อไปให้ถึงความสำเร็จ? อะไรคือหลักเกณฑ์ในการวัดความสำเร็จของท่าน? ทั้งหมดนี้ คือ สิ่งที่จำเป็นในการทำตามความฝันของตนเอง ปรับปรุงแผนงาน อย่าพยายามหลบหลีก หรือ ทำสิ่งต่างๆ ที่จะทำให้แผนการที่วางไว้ไขว้เขว ดังนั้น ต้องรู้จักวางแผนงานและกลยุทธ์ในการดำเนินงานเพื่อความสำเร็จในระยะยาว โดยการร่างแผนงานออกมาให้ชัดเจนและกางแผนงานไว้ให้เห็นเด่นชัด เช่น ติดไว้ที่ผนังเป็นต้น แล้วหาเวลากลับมาตรวจสอบการดำเนินงานตามแผน ทุกๆ 2-3เดือน ลองคิดดูว่า ท่านยังดำเนินตามเป้าหมายเดิมอยู่หรือไม่? หากไม่เป็นเช่นเดิม ควรพยายามปรับการดำเนินงานให้กลับมาสู่เป้าหมายเดิม สะสมประสบการณ์จากงานทุกงาน เรียนรู้จากการทำงานทุกตำแหน่ง และใช้บทเรียนเหล่านั้นในการพัฒนาอาชีพของตนเอง นำประสบการณ์ต่างๆที่ได้ มาปรับให้เข้ากับการดำเนินการตามเป้าหมายของตนเอง เมื่อมีโอกาสเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ จงฉกฉวยโอกาสนั้นไว้เพื่อเป็นฐานที่จะนำท่านไปสู่ความสำเร็จในการประกอบอาชีพ จัดลำดับความสำคัญ ผู้ที่สามารถจัดสรรเวลาของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น ที่จะสามารถรับผิดชอบหน้าที่ของตนเองได้อย่างสมบูรณ์ การจัดการหน้าที่การงานก็มีความสำคัญไม่แตกต่างกัน ยิ่งจัดสรรเวลาได้ดีเท่าไหร่ ก็สามารถจัดการกับหน้าที่การงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพมากเท่านั้น ดังนั้น ควรฝึกการจัดสรรสิ่งต่างๆให้เป็นนิสัย รู้จักลำดับความสำคัญว่างสิ่งใดควรทำก่อน-หลัง นี่คือวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้ท่านประสบความสำเร็จในการทำงาน ติดต่อสื่อสาร การพูดคุยไม่ใช่วิธีเดียวในการติดต่อสื่อสาร การฟัง การทำความเข้าใจ การเข้าใจความต้องการของผู้อื่น ก็เป็นการสื่อสารเช่นเดียวกัน การสื่อสาร ไม่ได้มีเพียง การพูดเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึง การเขียน และการทำความเข้าใจเกี่ยวกับงานเขียนต่างๆอีกด้วย สร้างเครือข่าย การสร้างเครือข่ายต้องใช้เวลาและความพยายามพอสมควร และเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดความก้าวหน้าในด้านการประกอบอาชีพ การอยู่ในเครือข่ายนั้น ต้องเริ่มจากการหาเวลาสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น ไม่ว่า เพื่อน คนที่รู้จักจากการพบปะกันในรูปแบบต่างๆในสังคม ทั้งด้านธุรกิจและกิจกรรมอื่นๆ เครือข่ายเป็นแหล่งทรัพยากรที่ดีทั้งด้านการให้และการรับคำแนะนำ รวมไปถึงความช่วยเหลือในด้านต่างๆ ไม่เฉพาะในเรื่องของการสมัครงานเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงเรื่องต่างๆในทุกช่วงของชีวิตอีกด้วย เตรียมความพร้อม ในยุคที่ใช้ความรู้เป็นปัจจัยหลักในการดำเนินธุรกิจนี้ สิ่งสำคัญก็คือ ต้องรู้จักเก็บเกี่ยวความรู้จากทุกย่างก้าวของการพัฒนา และการเปลี่ยนแปลงในการทำงาน อินเทอร์เน็ตคือแหล่งให้ความรู้ที่สำคัญที่สุด ดังนั้นต้องรู้จักใช้ประโยชน์จากมันในการหาข้อมูลต่างๆให้พร้อมสำหรับการดำเนินงาน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถควบคุมการดำเนินงานได้อย่างมืออาชีพ ควบคู่ไปกับการรักษาจรรยาบรรณในการทำงาน ทำให้ผู้อื่นเชื่อมั่นในตัวเรา ชื่อเสียงและเกียรติยศถือเป็นศูนย์กลางในทุกๆเรื่อง ทั้งในด้านคำพูดและการกระทำของคนในยุคปัจจุบัน มีตัวตนในสายตาผู้อื่น เริ่มจากการทำให้หัวหน้ารับรู้ถึงการทำงานอย่างหนักและความสำเร็จที่เกิดขึ้นกับเรา โดยรู้จักแสดงความคิดเห็น เสนอข้อแนะนำที่จะช่วยพัฒนาการทำงานให้ดียิ่งขึ้น แสดงความสามารถของตนเองออกมาให้เต็มที่ อย่าพลาดโอกาสที่จะได้แสดงความสามารถในด้านอื่นๆ นอกเหนือจากการทำงานตามหน้าที่และตำแหน่งที่ตนเองต้องรับผิดชอบ รักษาสมดุลให้กับชีวิต ทำแต่งานและไม่รู้พักผ่อน” ทำให้ Jack กลายเป็นคนหม่นหมอง เพื่อไม่ให้ตนเองต้องมีสภาพเช่นนั้น เราต้องรู้จักสร้างสมดุลให้กับชีวิต โดยการแบ่งเวลาให้เป็น จัดสรรทั้งเวลาและพลังงานในตัวเราให้กับทั้งการทำงาน ครอบครัว งานอดิเรก และการพักผ่อนอย่างเหมาะสม เพราะทั้งหมดนี้ล้วนแล้วแต่เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตเช่นเดียวกัน

ไม่ถือสาแต่ว่ารู้สึก

Intro : /A/ A C#m นั่นเสียงใครโทรมาหา ใช่ไหม Bm Esus4 และเขาคนนั้นอีกแล้วใช่ไหมเธอ C#m แต่ทำไมต้องเดินหนีไป F#m7 หลบไปคุยอะไรกันเหรอ Bm Esus4 คล้ายๆ เธอมีความลับอะไรกับฉัน A C#m เมื่อเขาก็เป็นแต่เพียงความหลัง Bm E ที่เธอบอกว่าวันนี้แค่เพื่อนกัน C#m F#m7 ก็พอรู้ก็พอเข้าใจ แต่ทำไมต้องโทรทุกวัน Bm E A A7 มีเรื่องมากมายอย่างนั้นเลยหรือเธอ Dmaj7 E C#m F#m *ไม่อยากถือสา แต่ว่ามันรู้สึก Bm E A ลึกๆก็หวั่นก็ไหวในใจอยู่เสมอ Bm E C#m F#m ไม่ให้คิดมากได้ยังไง ในเมื่อคนมันรักเธอ Bm B E ไม่รู้ว่าเธอเข้าใจกันบ้างไหม A **อยากให้เธอลองมาเป็นฉัน F#m ถ้าใครทำเหมือนกันกับเธอ Bm E A E เธอจะทนอย่างฉันได้ไหม A **ถ้าหากเธอลองมาเป็นฉัน F#m เธอจะทรมานแค่ไหน Bm E A เคยคิดเคยเห็นใจหรือเปล่า Solo : /A E/ A C#m อยากคุยก็คุยต่อหน้ากันได้ไหม Bm Esus4 ไม่เห็นต้องกลัวว่าฉันจะเคืองโกรธเธอ C#m F#m7 และที่จริงก็ยังไว้ใจ เชื่อว่าเธอซื่อสัตย์เสมอ Bm E A A7 แต่วันนี้ไม่รู้ว่าเธอ เหมือนเดิมหรือเปล่า ( *,**,*** ) Solo : /D E/C#m F#/Bm E/C#m F#m/Bm B/E/ ( **,***,*** ) Bm E A เคยนึกถึงหัวใจฉันบ้างไหมเธอ
ประจุ Q1 และ Q2 วางห่างกัน r ข้อใดที่แสดงว่าแรงระหว่างประจุทั้งสองเพิ่มมากที่สุด Q1 เพิ่มเป็น 2 เท่า r เพิ่มเป็น 2 เท่า Q1 และ r เพิ่มเป็น 2 เท่า Q1, Q2 และ r เพิ่มเป็น 2 เท่า

O- NET

O- NET คณิตศาสตร์ ประกอบด้วยเนื้อหาดังนี้ 1 เซต จำนวนจริง การใช้เหตุผล 2.ควาสัมพันธ์และ ฟังก์ชั่น 3.ลำดับและอนุกรม 4.สถิติและข้อมูล A-NET คณิตศาสตร์ ประกอบด้วยเนื้อหาดังนี้ 1. ตรรกศาสตร์ 2. ระบบจำนวนจริง 3. ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น 4. เมทริกซ์และดีเทอร์มิแนนต์ 5. ฟังชั่น 6. เรขาคณิตวิเคราะห์ 7. ฟั่งชั่นเอกซ์โพเนนเชียลและ ฟั่งชั่นลอกาลิทึม 8. ฟั่งชั่นตรีโกณมิติ 9. เวกเตอร์ในสามมิติ 10. จำนวนเชิงซ้อน 11.กำหนดการเชิงซ้อน 12.ควาน่าจะเป็น 13ลำดับอนันต์และอนุกรมอนันท์ 14.แคลคูลัสเบื้องต้น 15.การวิเคราะห์ข้อมูลเบือ้งต้น 16 การแจกแจงปกติ 17ความสัมพันธ์เชิงฟั่งก์ชั่นระหว ่างข้อมูล O-NET วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยเนื้อหาดังนี้ 1. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต 1.1 องค์ประกอบของเซลล์ 1.2 การลำเลียงผ่านเซลล์แบบต่าง ๆ 1.3 กลไกการรักษาดุลยภาพ - น้ำในพืช น้ำและสารต่าง ๆ ในร่างกาย กรด-เบสในร่างกาย ฯลฯ 1.4 ลักษณะทางพันธุกรรมและกระบวนการถ่ ายทอดสารพันธุกรรม 1.5 การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม 1.6 เทคโนโลยีชีวภาพ 2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 2.1 ระบบนิเวศ 2.2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่ งมีชีวิต 2.3 ความหลากหลายทางชีวภาพ 2.4 คนกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล ้อม 3. สารและสมบัติของสาร 3.1 สารชีวโมเลกุล / ไขมันและน้ำมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรด 3.2 ปิโตรเลียม / การกำเนิดและแหล่ง การกลั่นและผลิตภัณฑ์ แก๊สธรรมชาติ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน 3.3 พอลิเมอร์ / พอลิเมอร์ธรรมชาติและพอลิเมอร์สัง เคราะห์ พลาสติก ยางสังเคราะห์ เส้นใยสังเคราะห์ 3.4 ปฏิกิริยาเคมี พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 3.5 โครงสร้างของอะตอมและตารางธาตุ 3.6 ธาตุและสารประกอบ / พันธะเคมี สมบัติของธาตุตามหมู่ธาตุ 4. แรงและการเคลื่อนที่ 4.1 การเคลื่อนที่เป็นแนวตรง / ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดและเ วลา อัตราเร็ว ความเร็ว ความเร่ง 4.2 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบวงกลมและแบบฮาร์ม อนิกอย่างง่าย 4.3 แรงและสนามของแรง / สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า สนามโน้มถ่วง 4.4 การเคลื่อนที่ของวัตถุหรืออนุภาคใ นสนามต่าง ๆ 5. พลังงาน 5.1 คลื่น / คลื่นกล องค์ประกอบและสมบัติของคลื่น 5.2 เสียงและการได้ยิน 5.3 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 5.4 กัมมันตภาพรังสี แรงนิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร ์ 6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก 6.1 โครงสร้างของโลก 6.2 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา / การเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟ แหล่งภูเขาไฟ 6.3 แผ่นธรณีภาคและการเคลื่อนที่ 6.4 หลักฐานและข้อมูลทางธรณีภาค / รอยต่อ รอยแยกแผ่นธรณีภาค อายุหิน ซากดึกดำบรรพ์ 6.5 อายุทางธรณีวิทยา การลำดับชั้นหิน 7. ดาราศาสตร์และอวกาศ 7.1 กำเนิดเอกภพ 7.2 กาแลกซี / กาแลกซีทางช้างเผือก กาแลกซีเพื่อนบ้าน 7.3 ดาวฤกษ์ / วิวัฒนาการ ความสว่าง สี และอุณหภูมิ ระยะห่าง 7.4 กำเนิดระบบสุริยะ 7.5 เทคโนโลยีอวกาศ / ดาวเทียมและยานอวกาศ แระโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศ 8. ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโล ยี กระบวนการต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น การสำรวจตรวจสอบ การสังเกต การเก็บข้อมูล การตั้งสมมติฐาน การทดลอง การวิเคราะห์ การสรุปผล ซึ่งควรมีสอดแทรกตามเนื้อหาต่าง ๆ ในสาระ 1- 7 A-NET วิทยาศาสตร์-ฟิสิกส์ 1. กลศาสตร์ 1.1 การเคลื่อนที่ / ตำแหน่ง ความเร็ว ความเร่ง เวกเตอร์ของปริมาณต่าง ๆ ความเร็วสัมพัทธ์และกรอบอ้างอิง 1.2 กฏของการเคลื่อนที่ / แรง มวล น้ำหนัก จุดศูนย์กลางมวล จุดศูนย์กลางของความโน้มถ่วง แรงเสียดทาน 1.3 การเคลื่อนที่บางแบบ / โพรเจกไทล์ วงกลม ฮาร์มอนิกอย่างง่าย 1.4 งานและพลังงาน / ความหมายและกฏเกี่ยวกับงานและพลัง งาน 1.5 โมเมนตัมและการดล / ความหมายและหลักการเกี่ยวกับการดล และโมเมนตัมในการชน 1.6 การเคลื่อนที่แบบหมุน / หลักการเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบ หมุน โมเมนต์ของความเฉื่อย โมเมนตัมเชิงมุม 1.7 หลักการเกี่ยวกับสภาพสมดุล สภาพยืดหยุ่น 2. กลศาสตร์ของการไหล 2.1 สมบัติต่าง ๆ ของการไหล 2.2 ไลศาสตร์ของของไหล / หลักการของแบร์นูลลี 3. ความร้อน 3.1 อุณหภูมิและความร้อน 3.2 การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร ้อน การเปลี่ยนสถานะ การถ่ายโอนความร้อน 3.3 สมบัติของแก๊สเกี่ยวกับ อุณหภูมิ วามดัน และปริมาตร 3.4 ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 3.5 พลังงานภายในระบบของแก๊ส 4. คลื่น 4.1 คลื่นกล คลื่นผิวน้ำ 4.2 หลักการซ้อนทับของคลื่น 4.3 สมบัติของคลื่นเกี่ยวกับ การสะท้อน การหักเห การแทรกสอดและการเลี้ยวเบน 4.4 คลื่นนิ่งและปรากฏการณ์การสั่นพ้อ ง 5. เสียง 5.1 คลื่นเสียง การเคลื่อนที่ อัตราเร็ว ความเข้มเสียงและการได้ยินของหู 5.2 เสียงดนตรี ระดับและคุณภาพ สเปกตรัมความถี่ 5.3 ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คลื่นกระแทก บีตส์ 5.4 การประยุกต์ความรู้ความเข้าใจเรื่ องเสียง 6. แสง 6.1 การแทรกสอดและการเลี้ยวเบนของแสง 6.2 เกรติงและสเปกตรัมของแสง 6.3 การกระเจิง 6.4 ปรากฏการณ์เรือนกระจก 6.5 การเกิดภาพจากการสะท้อนที่กระจกเง าราบ และกระจกโค้งทรงกลม 6.6 การเกิดภาพจากการหักเหของแสงผ่านเ ลนส์บาง 6.7 ทัศนอุปกรณ์ เช่น กล้องถ่ายภาพ กล้องจุลทรรศน์ กล้องโทรทรรศน์ 6.8 ปรากฏการณ์บางประการของแสง เช่นการกระจายแยกสี การสะท้อนกลับหมด รุ้ง มิราจ 6.9 ความสว่าง 6.10 ตาและการมองเห็นสี 6.11 การผสมสารสีและการผสมแสงสี 7. ไฟฟ้าและแม่เหล็ก 7.1 ไฟฟ้าสถิต / แรงระหว่างประจุไฟฟ้า สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ตัวเก็บประจุ การประยุกต์ความรู้ 7.2 ไฟฟ้ากระแส / กระแสไฟฟ้าในตัวนำ กฏของโอห์ม พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า 7.3 การต่อตัวต้านทานและแบตเตอรี่ การหากระแสไฟฟ้าในวงจร 7.4 เครื่องวัดไฟฟ้าต่าง ๆ 7.5 สนามไฟฟ้าและฟลักซ์แม่เหล็ก 7.6 ความสัมพันธ์ของสนามไฟฟ้ากับสนามแ ม่เหล็ก 7.7 แรงระหว่างประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่หร ือกระแสไฟฟ้ากับสนามแม่เหล็ก 7.8 การประยุกต์ เช่น มอเตอร์ไฟฟ้า แกลวานอมิเตอร์ 7.9 แรงเคลื่อนไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเหนี ่ยวนำ 7.10 เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 7.11 ไฟฟ้ากระแสสลับ 7.12 กำลังและพลังงานไฟฟ้าสำหรับไฟฟ้าก ระแสสลับ 7.13 อุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้านเรือนและการใช้ อย่างปลอดภัยที่ควรทราบ 8. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 8.1 ทฤษฎีของแมกเวลล์และการทดลองของเฮ ิรตซ์ 8.2 การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 8.3 ความรู้เกี่ยวกับสเปกตรัมคลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้าในช่วงต่าง ๆ 8.4 โพลาไรเซชั่น 9. ฟิสิกส์อะตอม 9.1 การค้นพบอิเล็กตรอน 9.2 แบบจำลองต่าง ๆ ของอะตอม 9.3 สเปกตรัมจากอะตอม 9.4 ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก 9.5 ทฤษฎีของโบร์ 9.6 การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์ 9.7 รังสีเอ็กซ์ 9.8 ทวิภาพของคลื่นและอนุภาค 9.9 อะตอมตามแนวคิดกลศาสตร์ควอนตัม 9.10 เลเซอร์ 10. ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 10.1 องค์ประกอบของนิวเคลียสของอะตอม 10.2 กัมมันตรังสีและการเปลี่ยนนิวเคลี ยส 10.3 แรงนิวเคลียร์และพลังงานยึดเหนี่ย ว 10.4 ไอโซโทปและเสถียรภาพของนิวเคลียส 10.5 ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชันและฟิวชัน 10.6 การใช้ประโยชน์จากกัมมันตรังสีและ พลังงานนิวเคลียร์ 10.7 อันตรายจากกัมมันตรังสี 11. การใช้อิเล็กทรอนิกส์ในการรับรู้แ ละควบคุมที่ควรทราบ A-NET วิทยาศาสตร์-เคมี 1.อะตอมและตารางธาตุ 1.1 แบบจำลองอะตอม 1.2 สเปกตรัมของแสงจากอะตอม 1.3 แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก 1.4 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม 1.5 ตารางธาตุ 1.6 สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ 2. พันธะเคมี 2.1 พันธะไอออนนิก 2.2 พันธะโควาเลนต์ 2.3 พันธะโลหะ 3. สมบัติของธาตุและสารประกอบ 3.1 สมบัติของสารประกอบของธาตุตามคาบ 3.2 ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบของธ าตุตามหมู่ / หมู่ IA IIA และ VIIA 3.3 ธาตุแทรนซิชัน 3.4 ธาตุกึ่งโลหะ 3.5 ธาตุกัมมันตรังสี 3.6 ธาตุและสารประกอบในสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม 4. ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี 4.1 มวลอะตอม มวลโมเลกุล โมล 4.2 ความเข้มของสารละลาย 4.3 การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี 4.4 สมการเคมี 4.5 การคำนวณปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมี 5. ของแข็ง ของเหลวและแก๊ส 5.1 สมบัติของของแข็ง / การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง ชนิดของผลึก การเปลี่ยนสถานะ 5.2 สมับติของของเหลว / ความตึงผิว การระเหย ความดันไอ จุดเดือดและจุดหลอมเหลว 5.3 สมบัติของแก๊ส / กฏของบอยล์ กฏของชาร์ลและกฏแก๊สสมบูรณ์ การแพร่ของแก๊ส 5.4 เทคโนโลยีเกี่ยวกับสมบัติของของแข ็ง ของเหลวและแก๊ส / การทำน้ำแข็ง การทำไนโตรเจนเหลว การสกัดโดยใช้ CO2 ในรูปของไหล 6. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 6.1 พลังงานกับปฏิกิริยเคมี 6.2 ปัจจัยที่มีผลต่อปฏิกริรยาเคมี 7. สมดุลเคมี 7.1 การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ 7.2 การเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดสภาวะส มดุล 7.3 ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นขอ สารต่าง ๆ ณ สภาวะสมดุล 7.4 ปัจจัยที่มีผลต่อสภาวะสมดุล 7.5 หลักการเลอชาเตอลิเอ 7.6 สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวด ล้อม 8. กรด - เบส 8.1 สารละลายอิเล็กโทรไลต์และนอนอิเล็ กโทรไลต์ 8.2 สารละลายกรดและสารละลายเบส 8.3 ทฤษฎีกรด-เบส 8.4 คู่กรด-เบส 8.5 การแตกตัวของกรดและเบส 8.6 การแตกตัวเป็นไอออนของน้ำ 8.7 pH ของสารละลาย 8.8 อินดิเคเตอร์สำหรับกรดและเบส 8.9 สารละลายกรด-เบสในชีวิตประจำวันและในสิ่งมีชีวิต 8.10 ปฏิกิริยาของกรดและเบส ปฏิกิริยาไฮโดรลิซีส 8.11 การไทเทรดกรด-เบส 8.12 สารละลายบัฟเฟอร์ 9. ไฟฟ้าเคมี 9.1 ปฏิกิริยารีดอกซ์ 9.2 การดุลสมการรีดอกซ์ 9.3 เซลล์ไฟฟ้าเคมี / เซลล์กัลวานิก เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การผุกร่อนของโลหะและการป้องกัน 9.4 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ย วข้องกับไฟฟ้าเคมี 10. ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม 10.1 อุตสาหกรรมแร่ 10.2 อุตสาหกรรมเซรามิกส์ 10.3 อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดีย มคลอไรด์ 10.4 อุตสาหกรรมปุ๋ย 11. เคมีอินทรีย์ 11.1 พันธะคาร์บอน / สูตรโครงสร้าง ไอโซเมอริซึม 11.2 หมู่ฟังก์ชั่น 11.3 สารประกอบไฮโดรคาร์บอน / สมบัติและประเภท 11.4 สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเ จนเป็นองค์ประกอบ 11.5 สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุไนโตรเ จนเป็นองค์ประกอบ 11.6 สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเ จนและไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ 12. เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภั ณฑ์ 12.1 ถ่านหิน / การเกิด การใช้ประโยชน์ 12.2 หินน้ำมัน / การเกิด การใช้ประโยชน์ 12.3 ปิโตรเลียม / การเกิด การสำรวจ การกลั่น การแยกแก๊สธรรมชาติ ปิโตรเคมีภัณฑ์ 12.4 พอลิเมอร์ / ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน โครงสร้างและสมบัติ ผลิตภัณฑ์ 12.5 ภาวะมลพิษจากการผลิตหรือใช้ผลิตภั ณฑ์จากเชื้อเพลิง 13. สารชีวโมเลกุล 13.1 โปรตีน / พันธะ โครงสร้าง ชนิดและหน้าที่ เอนไซม์ การแปลงสภาพ 13.2 คาร์โบไฮเดรต / ชนิดและโครงสร้าง สมบัติและปฏิกิริยา 13.3 ลิพิด / ไขมันและน้ำมัน ฟอสโฟลิพิด ไข สเตรอยด์ 13.4 กรดนิวคลีอิค โครงสร้างของ DNA และ RNA A-NET วิทยาศาสตร์-ชีววิทยา 1. ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา 1.1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 1.2 การศึกษาชีววิทยา 1.3 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต 1.4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต 2. การรักษาดุลยภาพของร่างกายมนุษย์แ ละสัตว์ 2.1 ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารเพื่ อให้ได้พลังงาน 2.2 การรักษาดุลยภาพของร่างกาย 2.2.1 ระบบหายใจกับการรักษาดุลยภาพ 2.2.2 ระบบขับถ่ายกับการรักษาดุลยภาพ 2.2.3 ระบบหมุนเวียนเลือดกับการรักษาดุล ยภาพ 3. การประสานงานในร่างกายและการสืบพั นธุ์ของมนุษย์และสัตว์ 3.1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3.2 การรับรู้และการตอบสนอง 3.3 ระบบต่อมไร้ท่อ 3.4 พฤติกรรมของสัตว์ 3.5 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต 4. การดำรงชีวิตของพืช 4.1 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 4.2 การสังเคราะห์แสง 4.3 การสิ้นพันธุ์ของพืชดอก 4.4 การตอบสนองของพืช 5. พันธุ์ศาสตร์ 5.1 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม 5.2 ยีนและโครโมโซม 5.3 พันธุศาสตร์ 5.4 วิวัฒนาการ 5.5 ความหลากหลายทางชีวภาพ 6.นิเวศวิทยา 6.1 ระบบนิเวศ 6.1.1 ความหลากหลาย 6.1.2 ความสัมพันธ์ 6.1.3 การถ่ายทอดพลังงาน 6.1.4 การเปลี่ยนแปลงที่ 6.2 ประชากร 6.2.1 ความหนาแน่นและการแพร่กระจาย 6.2.2 ขนาดของประชากร 6.2.3 แบบแผนการเจริญเติบโตของประชากร 6.2.4 แบบแผนการมีชีวิตรอด 6.2.5 ประชากรมนุษย์ 6.3 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้ อม 6.3.1 มนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติ 6.3.2 หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

สนามไฟฟ้า

สนามไฟฟ้า ข้อที่ 1 1. ข้อที่ 1 1. สนามไฟฟ้าที่จุดใดๆ คือ ก. ศักย์ไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วยระยะทางของจุดนั้น ข. แรงต่อหนึ่งหน่วยประจุบวกที่วางไว้ ณ จุดนั้น ค. แรงต่อหนึ่งหน่วยประจุบวกที่วางไว้ ณ จุดนั้น ง. จำนวนเส้นที่แสดงทิศของแรงลัพธ์ที่กระทำต่อประจุทดสอบ ข้อที่ 2 2. ทรงกลมมีประจุลบ สามารถลอยนิ่งในบริเวณที่สนามไฟฟ้ามีทิศ ก.พุ่งขึ้นในแนวดิ่ง ข. พุ่งลงในแนวดิ่ง ค. ตั้งฉากกับทรงกลม ง. ผิดทุกข้อ ข้อที่ 3 3. ถ้ามีหยดน้ำมันเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กทิศของแรงกระทำต่อหยดน้ำมันขึ้นอยู่กับ ก. จำนวนประจุที่อยู่บนหยดน้ำมัน ข. ชนิดของประจุที่อยู่บนหยดน้ำมัน ค. ขนาดของความเหนี่ยวนำแม่เหล็ก ง. ไม่มีข้อใดถูก ข้อที่ 4 5. ข้อความใดที่ไม่ถูกต้อง ก. ไม่เกิดแรงกระทำต่ออนุภาคประจุไฟฟ้า เมื่ออนุภาคนั้นวางนิ่งอยู่ในสนามแม่เหล็ก ข. อิเล็กตรอนหรือโปรตอน จะเคลื่อนที่เป็นวงกลมมาในสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ ต่อเมื่อทิศทางของความเร็วตั้งฉากกับทิศสนามแม่เหล็กเท่านั้น ค. สนามแม่เหล็กมีหน่วยเป็น เวเบอร์ / ตารางเมตร หรือเทสลา ง. เส้นลวดทองแดงวางในสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงกระทำบนเส้นลวดในทิศตั้งฉากกับทิศของสนามแม่เหล็ก ข้อที่ 5 6. แท่งแก้วถูด้วยแพร เกิดประจุไฟฟ้าได้ เพราะ ก. การถูทำให้มีประจุชนิดหนึ่งเกิดขึ้นมา ข. ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง ค. ประจุเกิดจากแรงเสียดทาน ง. ประจุเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวล ข้อที่ 6 7. เมื่อนำแท่งแก้วถูกับผ้าไหม จะพบว่าวัตถุทั้งสองกลายเป็นวัตถุที่มีประจุ การที่วัตถุทั้งสองมีประจุได้เนื่องจาก ก. ประจุถูกสร้างขึ้น ข. การแยกของประจุ ค. การเสียดสี ง. แรงที่ถูก ข้อที่ 7 8. ขนาดของสนามไฟฟ้าในบริเวณระหว่างแผ่นโลหะที่มีประจุต่างชนิดกัน จะมีค่าเป็นอย่างไร ก. ศูนย์ ข. สม่ำเสมอตลอดบริเวณ ค. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุบวก ง. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุลบ ที่จุดใดๆ คือ ก. ศักย์ไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วยระยะทางของจุดนั้น ข. แรงต่อหนึ่งหน่วยประจุบวกที่วางไว้ ณ จุดนั้น ค. แรงต่อหนึ่งหน่วยประจุบวกที่วางไว้ ณ จุดนั้น ง. จำนวนเส้นที่แสดงทิศของแรงลัพธ์ที่กระทำต่อประจุทดสอบ ข้อที่ 2 2. ทรงกลมมีประจุลบ สามารถลอยนิ่งในบริเวณที่สนามไฟฟ้ามีทิศ ก.พุ่งขึ้นในแนวดิ่ง ข. พุ่งลงในแนวดิ่ง ค. ตั้งฉากกับทรงกลม ง. ผิดทุกข้อ ข้อที่ 3 3. ถ้ามีหยดน้ำมันเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กทิศของแรงกระทำต่อหยดน้ำมันขึ้นอยู่กับ ก. จำนวนประจุที่อยู่บนหยดน้ำมัน ข. ชนิดของประจุที่อยู่บนหยดน้ำมัน ค. ขนาดของความเหนี่ยวนำแม่เหล็ก ง. ไม่มีข้อใดถูก ข้อที่ 4 5. ข้อความใดที่ไม่ถูกต้อง ก. ไม่เกิดแรงกระทำต่ออนุภาคประจุไฟฟ้า เมื่ออนุภาคนั้นวางนิ่งอยู่ในสนามแม่เหล็ก ข. อิเล็กตรอนหรือโปรตอน จะเคลื่อนที่เป็นวงกลมมาในสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ ต่อเมื่อทิศทางของความเร็วตั้งฉากกับทิศสนามแม่เหล็กเท่านั้น ค. สนามแม่เหล็กมีหน่วยเป็น เวเบอร์ / ตารางเมตร หรือเทสลา ง. เส้นลวดทองแดงวางในสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงกระทำบนเส้นลวดในทิศตั้งฉากกับทิศของสนามแม่เหล็ก ข้อที่ 5 6. แท่งแก้วถูด้วยแพร เกิดประจุไฟฟ้าได้ เพราะ ก. การถูทำให้มีประจุชนิดหนึ่งเกิดขึ้นมา ข. ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง ค. ประจุเกิดจากแรงเสียดทาน ง. ประจุเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวล ข้อที่ 6 7. เมื่อนำแท่งแก้วถูกับผ้าไหม จะพบว่าวัตถุทั้งสองกลายเป็นวัตถุที่มีประจุ การที่วัตถุทั้งสองมีประจุได้เนื่องจาก ก. ประจุถูกสร้างขึ้น ข. การแยกของประจุ ค. การเสียดสี ง. แรงที่ถูก ข้อที่ 7 8. ขนาดของสนามไฟฟ้าในบริเวณระหว่างแผ่นโลหะที่มีประจุต่างชนิดกัน จะมีค่าเป็นอย่างไร ก. ศูนย์ ข. สม่ำเสมอตลอดบริเวณ ค. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุบวก ง. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุลบ

ไฟฟ้าสถิต

ไฟฟ้าสถิต เรื่องที่ ประจุไฟฟ้าและแรงระหว่างประจุ 1. ทดลองอย่างไรจึงรู้ว่าประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด ............................................................................................ ............................................................................................ 2. เมื่อนำวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า 2 ชนิดมาถูกัน เหตุใดประจุที่เกิดขึ้นที่วัตถุทั้งสองจึงต้องเป็นคนละชนิดกัน ............................................................................... ............................................................................................ ............................................................................................ 3. ให้ยกตัวอย่างการเหนี่ยวนำไฟฟ้ามา 1 ตัวอย่าง ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 4. ลูกพิทลูกหนึ่งเสียประจุไป 1.0x ตัว ลูกพิทนี้มีประจุไฟฟ้าเท่าไร ( + 1.6x คูลอมบ์) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 5. จุดประจุ 2 ไมโครคูลอมบ์ 3 จุดประจุ วางเรียงกันเป็นแนวเส้นตรง ห่างกันช่วงละ 30 เซนติเมตร จงหาขนาดและทิศทางของแรงที่กระทำต่อจุดประจุตรงจุดกึ่งกลาง เมื่อ ก. จุดประจุทั้งสามเป็นชนิดบวก ( 0 ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ข. จุดประจุที่ปลายทั้งสองข้างเป็นชนิดบวก และตรงจุดกึ่งกลางเป็นชนิดลบ ( 0 ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ หน้า 1 ชื่อ ........................................... ชั้น ม 6/..... เลขที่ ............ * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * ค. จุดประจุที่ปลายข้างหนึ่งเป็นชนิดลบและตรงจุดกึ่งกลางกับปลายอีกข้างหนึ่งเป็นประจุบวก (0.8 นิวตัน ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 6. ที่แต่ละมุมของสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ 0.2 เมตร มีจุดประจุขนาด 1.0x คูลอมบ์ จงหาขนาดของแรงที่กระทำต่อจุดประจุแต่ละจุดประจุ(4.31x ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ไฟฟ้าสถิต เรื่องที่ ประจุไฟฟ้าและแรงระหว่างประจุ (ต่อ) 7. ABCเป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก มีด้านประกอบมุมฉากยาวด้านละ a ดังรูป ถ้าจุด A ,B และ C มีประจุไฟฟ้า + q , + , และ – q ตามลำดับ ขนาดของแรงที่กระทำต่อจุดประจุที่ B มีค่าเท่าไร ( ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 8. นำแผ่นพีวีซีที่มีประจุเข้าใกล้ลูกพิทสองลูกที่แขวนอยู่ โดยผิวของลูกพิททั้งสองเป็นตัวนำและสัมผัสกัน ต่อมาแยกลูกพิททั้งสองออกจากกันเป็นระยะห่าง 10.0 เซนติเมตร แล้วดึงแผ่นพีวีซีออก ปรากฏว่า ลูกพิททั้งสองดึงดูดกันด้วยแรง 9x นิวตัน มีอิเลคตรอนจำนวนเท่าใดที่เคลื่อนที่จากลูกพิทลูกหนึ่งไปยังลูกพิทอีกลูกหนึ่ง ( อิเลคตรอนมีประจุ คูลอมบ์) (6.3x ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ เรื่องที่ ทำได้ ........................ แต้ม หน้า 2 ชื่อ ........................................... ชั้น ม 6/..... เลขที่ ............ * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * 9. เมื่อวางลูกพิทที่มีประจุห่างกัน 10.0 เซนติมเตร ปรากฏว่ามีแรงกระทำต่อกัน 1.0x นิวตัน ถ้าวางลูกพิททั้งสองห่างกัน 2.0 เซนติเมตร จะมีแรงกระทำระหว่างกันเท่าไร ( 2.5x ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ไฟฟ้าสถิต เรื่องที่ สนามไฟฟ้า 10. ที่ตำแหน่งซึ่งห่างจากจุดหนึ่งเป็นระยะ 2.0 เซนติเมตร มีขนาดของสนามไฟฟ้าเป็น 1.0x นิวตันต่อคูลอมบ์ จงหาขนาดของสนามไฟฟ้าที่ห่างจากจุดนี้ 1.0 เซนติเมตร ( 4.0x ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 11. สนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ มีขนาด 1.0x นิวตันต่อคูลอมบ์ มีทิศทางลงตามแนวดิ่ง กระทำกับลูกพิทมวล 0.02 กรัม พบว่าลูกพิทเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง 2 เมตรต่อวินาที ลูกพิทมีประจุชนิดใดและมีประจุกี่คูลอมบ์ ( 1.6x ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 12. จุดประจุ + 4x คูลอมบ์ และ +9x คูลอมบ์ อยู่ห่างกัน 0.5 เมตร จงหาตำแหน่งตามแนวเส้นตรงระหว่างประจุทั้งสองที่มีสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์ (ห่างจาก+ 4x เท่ากับ 0.2 เมตร) หน้า 3 ชื่อ ........................................... ชั้น ม 6/..... เลขที่ ............ * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 13. แผ่นตัวนำขนานห่างกัน 10 เซนติเมตร มีความต่างศักย์ 30 โวลท์ ทำให้เกิดสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอตามแนวดิ่ง เมื่อนำลูกพิทมวล 0.60 กรัม และมีประจุ 20x คูลอมบ์ มาแขวนด้วยด้ายเบาที่ยาว 5 เซนติเมตร โดยปลายหนึ่งผูกติดอยู่กับแผ่นโลหะแผ่นบน แรงดึงในเส้นด้ายจะมีค่าเท่าใด และถ้าเส้นด้ายขาด ลูกพิทจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเท่าไร ( 0.012 , 20) ............................................................................... ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ไฟฟ้าสถิต เรื่องที่ สนามไฟฟ้า (ต่อ) 14. มีแผ่นโลหะสองแผ่นที่ขนานกันและอยู่ห่างกัน 3 มิลลิเมตร ถ้าความต่างศักย์ระหว่างแผ่นโลหะทั้งสองมีค่าเท่ากับ 90 โวลท์ สนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นโลหะคู่นี้มีค่าเท่าใด ( 3x ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 15. ทรงกลมขนาดเล็ก แขวนอยู่ในแนวดิ่งด้วยเชือกเบาที่เป็นฉนวน เมื่อทรงกลมหยุดนิ่งในสนามไฟฟ้าที่สม่ำเสมอและอยู่ในแนวระดับ ดังรูป ถ้าทรงกลมมีประจุ – 2.5 x คูลอมบ์ และมีมวล 0.015 กรัม จงหาขนาดและทิศทางของสนามไฟฟ้า ( 60, B->A ) .............................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ เรื่องที่ ทำได้ ........................ แต้ม หน้า 4 ชื่อ ........................................... ชั้น ม 6/..... เลขที่ ............ * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * ไฟฟ้าสถิต เรื่องที่ ศักย์ไฟฟ้า 16. ตำแหน่งซึ่งห่างจากจุดศูนย์กลางของตัวนำทรงกลมรัศมี 5.0 เซนติเมตร ที่มีประจุไฟฟ้าเป็นระยะ 70.0 เซนติเมตร มีสนามไฟฟ้าเท่ากับ 3500 นิวตันต่อคูลอมบ์ และสนามมีทิศเข้าหาศูนย์กลางของทรงกลม ก. ประจุบนผิวทรงกลมเป็นประจุชนิดใด เพราะเหตุใด ................................................................................. ............................................................................................ ข. ถ้านำประจุ คูลอมบ์ ไปวางที่ตำแหน่งซึ่งห่างจากจุดศูนย์กลางของทรงกลมเป็นระยะ 30.0 เซนติเมตร แรงที่กระทำต่อประจุนี้เป็นเท่าไร(1.9x ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ค. ศักย์ไฟฟ้าที่ตำแหน่งซึ่งห่างจากจุดศูนย์กลางของทรงกลม 20.0 เซนติเมตรมีค่าเท่าไร (8.55x ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ง. ถ้านำประจุ + 2x คูลอมบ์ มาไว้ที่ตำแหน่งในข้อ ค. พลังงานศักย์ของประจุนี้เป็นเท่าใด (  1.71x ) ............................................................................... ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ หน้า 5 ชื่อ ........................................... ชั้น ม 6/..... เลขที่ ............ * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * จ. ถ้านำประจุ  2x คูลอมบ์มาไว้ที่ตำแหน่งในข้อ ค. พลังงานศักย์ของประจุนี้เป็นเท่าใด( 1.71x ) .............................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 17. ในการเกิดฟ้าผ่าครั้งหนึ่ง มีประจุถ่ายโอนระหว่างเมฆและพื้นดิน 40 คูลอมบ์ และความต่างศักย์ระหว่างเมฆกับพื้นดินมีค่า 8x โวลท์ จงหาพลังงานที่เกิดขึ้น Qเนื่องจากฟ้าผ่านี้ ถ้าความต่างศักย์ระหว่างเมฆกับพื้นดินมีค่าคงเดิม ( 3.2x ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 18. ในการนำประจุ 5.0x คูลอมบ์จากระยะอนันต์ มายังจุดหนึ่งในสนามไฟฟ้า ต้องทำงาน 5.0x จูล จุดนั้นมีศักย์ไฟฟ้าเท่าใด (1.0x ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ไฟฟ้าสถิต เรื่องที่ ศักย์ไฟฟ้า (ต่อ) 19. จุดประจุ + 4x คูลอมบ์ และ  9x คูลอมบ์ อยู่ห่างกัน 0.5 เมตร จงหาตำแหน่งบนแนวเส้นตรงที่ผ่านจุดประจุทั้งสองและมี ก. สนามไฟฟ้าเป็นศูนย์ ( นอกเส้นตรง , 1 ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ข. ศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ ( บนเส้นตรง , 0.15) (นอกเส้นตรง , 0.4 ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 20. ในสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ ดังรูป ถ้าเลื่อนประจุไฟฟ้า + 10 ไมโครคูลอมบ์ จากระยะอนันต์มาที่ A และ B ต้องทำงาน 100 จูล และ 60 จูล ตามลำดับ ถ้าจุด A และ B อยู่ห่างกัน 0.5 เมตร สนามไฟฟ้ามีค่าเท่าใด ( 8x ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ หน้า 6 ชื่อ ........................................... ชั้น ม 6/..... เลขที่ ............ * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * 21. แผ่นตัวนำขนานที่อยู่ห่างกัน 0.2 เซนติเมตร ทำให้เกิดสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอตามแนวดิ่ง ถ้าต้องการให้อิเลคตรอนที่มีมวล กิโลกรัม และประจุ คูลอมบ์ ลอยอยู่ระหว่างแผ่นตัวนำขนานนี้ ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นตัวนำต้องเป็นเท่าใด ( 1.14x ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 22. แผ่นโลหะขนานสองแผ่นวางห่างกันเป็นระยะ x แต่ละแผ่นมีประจุไฟฟ้าชนิดตรงข้ามกัน อนุภาคมวล m ที่มีประจุไฟฟ้า q หลุดออกจากแผ่นลบและเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง a ไปยังแผ่นบวก แผ่นโลหะทั้งสองมีความต่างศักย์เท่าใด ( ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ไฟฟ้าสถิต เรื่องที่ ศักย์ไฟฟ้า (ต่อ) 23. อนุภาคมีประจุไฟฟ้า 1.0x คูลอมบ์ เริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง ในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ 50 โวลท์ต่อเมตร เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 1 เมตร ในทิศทางเดียวกับสนามไฟฟ้า อนุภาคนี้มีพลังงานจลน์เท่าใด ( 5x ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 24. กำหนดให้อิเลคตรอนมีมวล กิโลกรัม และประจุ คูลอมบ์ ทรงกลมตัวนำ A ที่มีประจุไฟฟ้าบวก และกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างศักย์ไฟฟ้าของทรงกลมตัวนำ A กับระยะทางเป็นดังรูป ก. สนามไฟฟ้าที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางทรงกลม 4 เซนติเมตร มีค่าเท่าใด ( 0 ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ข. ประจุไฟฟ้าบนทรงกลมตัวนำ A มีค่าเท่าใด ( 1C ) ............................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ เรื่องที่ ทำได้ ............................ แต้ม หน้า 7 ชื่อ ........................................... ชั้น ม 6/..... เลขที่ ............ * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * ไฟฟ้าสถิต เรื่องที่ ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า 25. นำตัวเก็บประจุ 2 ตัว ที่มีความจุ 2 ไมโครฟารัด และ 4 ไมโครฟารัดมาต่อกันและต่อกับความต่างศักย์ 120 โวลท์ จงหาประจุทั้งหมดและพลังงานทั้งหมดที่สะสมในตัวเก็บประจุเมื่อต่อตัวเก็บประจุแบบ ก. แบบอนุกรม ( 9.6x , 1.6x ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ข. แบบขนาน ( 4.3x , 7.2x ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 26. จงหาจำนวนตัวเก็บประจุที่มีความจุ 400 ไมโครฟารัด ซึ่งเมื่อนำมาต่อขนานกันจะเก็บประจุได้ 1 คูลอมบ์ เมื่อต่อกับความต่างศักย์ 1000 โวลท์ ( 7 ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ เรื่องที่ ทำได้ ............................ แต้ม หน้า 8 ชื่อ ........................................... ชั้น ม 6/..... เลขที่ ............ * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * 27. ตัวเก็บประจุ 3 ตัว คือ มีความจุ 6 ไมโครฟารัด มีความจุ 12 ไมโครฟารัด และ มีความจุ 8 ไมโครฟารัด เมื่อนำมาต่อกับความต่างศักย์ 100 โวลท์ ดังรูป จงหา ประจุ ความต่างศักย์ และพลังงานสะสมบนตัวเก็บประจุแต่ละตัว ( 4x , 4x , 8x , 66.7 , 33.3 ,100 ) ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ************** จบ ไฟฟ้าสถิต ****************

ประจุไฟฟ้า และแรงระหว่างประจุไฟฟ้า

1. แรงระหว่างประจุไฟฟ้าจะแปรผันตรงกับปริมาณใด………………………………………………………… 2. จากข้อ 1. เขียนสัญญลักษณ์แทนในรูปความสัมพันธ์ได้อย่างไร……………………………………………. 3. การทำให้วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า มีพลังงานทางไฟฟ้า เรียกว่า……………………………………………. 4. แรงระหว่างประจุไฟฟ้าจะแปรผกผันกับปริมาณใด…………………………………………………………. 5. จากข้อ 4. เขียนสัญญลักษณ์แทนในรูปความสัมพันธ์ได้อย่างไร……………………………………………. 6. วัตถุที่มีประจุไฟฟ้าบวก จะมีการถ่ายเทประจุอย่างไร………………………………………………………. 7. ค่า K คือ ค่านิจของคูลอมบ์มีค่าเท่ากับ………………………นิวตัน.เมตรยกกำลังสองต่อคูลอมบ์กำลังสอง 8. เมื่อวัตถุมีประจุไฟฟ้าสัมผัสกับวัตถุที่ไม่มีประจุไฟฟ้าจะมีการถ่ายเทอิเล็กตรอน ทำให้วัตถุทั้งสองมีปริมาณใดเท่ากัน……………………………………………………………………………………………………... 9. ประจุไฟฟ้า เกิดขึ้นได้ 2 ชนิด คือ……………………………………………………………………………. 10. วัตถุที่มีการถ่ายเทอิเล็กตรอนอิสระได้ยาก แสดงว่าวัตถุนั้นมีสภาพเป็น…………………….….……………

ข้อควรจำ เกี่ยวกับการคำนวณ เรื่อง แรงระหว่างประจุ

ข้อควรจำ เกี่ยวกับการคำนวณ เรื่อง แรงระหว่างประจุ ข้อควรจำ เกี่ยวกับการคำนวณ เรื่อง แรงระหว่างประจุ 1. แรงระหว่างประจุเป็นปริมาณเวคเตอร์ ดังนั้นการแทนค่าประจุในสมการ ไม่ต้องคิดเครื่องหมายของประจุ เพราะเครื่องหมายของประจุ มีไว้สำหรับกำหนดทิศทางของแรง 2. แรงระหว่างประจุเป็นแรงคู่กิริยา – ปฏิกิริยา ตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตัน ดังนั้น แรงระหว่างประจุของจุดประจุคู่หนึ่งๆ จึงมีขนาดเท่ากัน 3. ถ้ามีจุดประจุมากกว่า 2 จุด แรงระหว่างประจุที่กระทำต่อจุดประจุใด จะเป็นแรงลัพธ์ที่กระทำต่อจุดประจุนั้น

Charles Augustin de Coulomb

แรงที่เกิดระหว่างประจุไฟฟ้า มีทั้งแรงดูดและแรงผลัก และเป็นแรงต่างร่วม คือ ทั้ง 2 ฝ่าย จะออกแรงกระทำซึ่งกันและกันด้วยแรงเท่ากัน แต่ทิศทางตรงข้าม ประจุชนิดเดียวกันจะผลักกัน และประจุต่างชนิดกันจะดูดกัน Charles Augustin de Coulomb ได้ทำการทดลองและสรุปผลเป็นกฎไว้ดังนี้ "แรงระหว่างประจุไฟฟ้าคู่หนึ่ง จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับผลคูณของประจุแต่เป็นสัดส่วนผกผันกับกำลังสองของระยะทาง ระหว่างประจุคู่นั้น"

Electric and Magnetic Field: EMFs

สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก (Electric and Magnetic Field: EMFs) จะหมายถึง เส้นสมมุติที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงอาณาเขตและความเข้มของเส้นแรงที่เกิดขึ้นระหว่างวัตถุที่มี ความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้าหรือแรงดันไฟฟ้า (เรียกว่า สนามไฟฟ้า) และที่เกิดขึ้นโดยรอบ วัตถุที่มีกระแสไฟฟ้าไหล (เรียกว่า สนามแม่เหล็ก) ในกรณีกล่าวถึงทั้ง สนามไฟฟ้าและ สนามแม่เหล็กพร้อมกันมักจะเรียกรวมว่า สนามแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Field: EMF) หรือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กสามารถเกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะคือ 1) เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่ สนามแม่เหล็กโลก คลื่นรังสีจากแสงอาทิตย์ คลื่นฟ้าผ่า คลื่นรังสีแกมมา เป็นต้น 2) เกิดขึ้นจากการสร้างของมนุษย์ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ สนามแม่เหล็กโลกและปรากฏการณ์ ฟ้าผ่าจากสนามไฟฟ้า - แบบจงใจ คือสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่จงใจ สร้างให้เกิดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์หลักที่จะใช้ ประโยชน์โดยตรงจากคลื่นสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ที่สร้างขึ้นนี้ เช่น ให้สามารถส่งไปได้ในระยะ ไกลๆ ด้วยการส่งสัญญาณของระบบสื่อสาร สัญญาณเรดาร์ คลื่นโทรศัพท์ คลื่นโทรทัศน์ และ คลื่นวิทยุ และการใช้คลื่นไมโครเวฟ ในการให้ความร้อน เป็นต้น - แบบไม่จงใจ คือสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ที่เกิดจากการใช้งานอุปกรณ์ โดยไม่ได้มี วัตถุประสงค์หลักที่จะใช้ประโยชน์ โดยตรงจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้น เช่น ระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า (สายส่งไฟฟ้า) รวมถึงอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น สนามแม่เหล็กไฟฟ้ายังสามารถแบ่ง ออกเป็น สนามแม่เหล็กไฟฟ้าสถิต ที่ไม่มีการเปลี่ยนตามเวลา (Static Field หรือ DC Field) ตัวอย่างเช่น สนามไฟฟ้าระหว่าง ก้อนเมฆกับพื้นโลก สนามแม่เหล็กจาก แม่เหล็กถาวร สนามแม่เหล็กโลก เป็นต้น สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้น รอบแท่งแม่เหล็กถาวร สนามไฟฟ้าระหว่าง ก้อนเมฆกับพื้นโลก ส่วนอีกประเภทคือสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีการเปลี่ยนตามเวลา (Dynamic Field หรือ AC Field) ตัวอย่างเช่น สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากระบบการส่งจ่ายกำลังไฟฟ้ากระแสสลับ (50 Hz) และ ระบบสื่อสาร เป็นต้น สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากระบบการส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า เป็นเพียงส่วนหนึ่งของแถบคลื่นความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Spectrum) ซึ่งแถบคลื่นความถี่นี้จะเป็นตัวบอกถึง ระดับพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Energy หรือ Photon Energy) โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงจะมี ระดับของพลังงานสูง และ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ต่ำก็จะมี ระดับของพลังงานที่ต่ำ แถบคลื่นความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรียงลำดับความถี่ จากสูงไปสู่ต่ำ เป็นดังนี้ รังสีคอสมิก รังสีแกมมา รังสีเอ็กซ์ แสงอาทิตย์ คลื่นความร้อน คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ และ สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้า ดังแสดงในรูป อย่างไรก็ตาม สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าเป็น เพียงส่วนหนึ่งของแถบความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความ แตกต่างกันอย่างมากเมื่อเทียบกับรังสีแกมมาซึ่งมีความถี่อยู่ในย่าน การแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ทำให้เกิดไอออน (Ionization Radiation) [1] และสามารถทำลายการยึดเหนี่ยวของโมเลกุลได้ นั่นหมายความว่ารังสีแกมมาและการแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ทำให้เกิดไอออนสามารถ ทำลายส่วนต่างๆ ของดีเอ็นเอ (DNA) และการได้รับรังสีชนิดนี้สามารถนำไปสู่โรคมะเร็งได้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีแถบคลื่นความถี่ที่ต่ำลงมา ระดับพลังงานของคลื่นแม่เหล็ก ไฟฟ้าก็จะมีค่าลดลง ตัวอย่างเช่น คลื่นไมโครเวฟ ซึ่งมีพลังงานไม่เพียงพอที่จะทำลาย การยึดเหนี่ยวของโมเลกุลได้ อย่างไรก็ตามการได้รับการแผ่รังสีของคลื่นไมโครเวฟที่มีค่าสูง โดยตรงสามารถทำให้เกิดความร้อนได้เช่นเดียวกับการทำให้อาหารสุกโดยใช้ เตาไมโครเวฟ สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้า มีความถี่อยู่บนแถบคลื่นความถี่ของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าในย่านความถี่ต่ำมาก [2] สนามแม่เหล็กจากเครื่องใช้ไฟฟ้าและสายส่งไฟฟ้านั้น มีระดับพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าน้อยมากๆ ซึ่งไม่เพียงพอที่จะทำลายการยึดเหนี่ยว ของโมเลกุลได้ แต่อย่างไรก็ดี เซลล์ร่างกายคนเราสามารถตอบสนองกับสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่มี พลังงานต่ำด้วย ในกรณีที่ขนาดของสนามแม่เหล็กไฟฟ้านั้นมีค่าสูง ซึ่งปฏิกิริยาเหล่านี้ จะเป็นปฏิกิริยาทางอ้อม (ผลกระทบทางกายภาพ) โดยยังไม่มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า ผลกระทบทางอ้อมนี้จะก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ [1] Ionization Radiation คือ การแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ทำให้เกิดการแตกตัวของอะตอมหรือกลุ่มของอะตอมที่มีประจุบวกและลบ โดยขึ้นอยู่กับการได้หรือสูญเสียอิเล็กตรอน [2] ย่านความถี่ต่ำมาก (Extremely Low Frequency : ELF) มีความถี่อยู่ในช่วง 3 Hz ถึง 3,000 Hz (3 kHz) สำหรับประเทศไทยใช้ความถี่ ในการส่งกระแสไฟฟ้าที่ 50 Hz

ไฟฟ้าสถิต

การถ่ายเทประจุไฟฟ้าบนตัวนำทรงกลม การถ่ายเทประจุไฟฟ้าบนตัวนำประจุทรงกลม ที่จะศึกษาในหัวข้อนี้เพียงเพื่อจะนำไปใช้ในการคำนวณเกี่ยวกับแรงกระทำระหว่างประจุ ส่วนรายละเอียดจะศึกษาอีกครั้งในตอนต่อๆ ไปหลักการถ่ายเทประจุไฟฟ้ามี ดังนี้ ในการถ่ายเทปริมาณประจุไฟฟ้าคงที่เสมอ คือ ประจุไฟฟ้ารวมก่อนถ่ายเทจจะเท่ากับประจุไฟฟ้าหลังถ่ายเท หลังการถ่ายเทประจุไฟฟ้าบนตัวนำจะเป็นประจุไฟฟ้าประเภทเดียวกัน หลังการถ่ายเท วัตถุที่มีขนาดเท่ากันจะมีประจุไฟฟ้าเท่ากัน ถ้าวัตถุมีขนาดไม่เท่ากัน วัตถุที่มีขนาดใหญ่จะมีประจุไฟฟ้ามากกว่าวัตถุที่มีขนาดเล็กกว่า กรณีตัวนำทรงกลมประจุบนตัวนำหลังถ่ายเทแล้วจะแปรผันตรงกบรัศมีของทรงกลม แรงระหว่างประจุและกฎการเคลื่อนที่ของคูลอมบ์ Charles Augustin de Coubomb นักวิทยาสาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับแรงระหว่างประจุแล้วตั้งทฤษฏีขึ้นมาโดยอาศัยหลักการที่ว่าประจุเหมือนกันจะผลักกัน ประจุต่างกันจะดึงดูดกัน คูลอมบ์สรุปได้ว่า แรงที่เกิดขึ้นระหว่างประจุจะเป็นสัดส่วนกับผลคูณของประจุ และแปรผกผันกับระยะห่างระหว่างประจุยกกำลังสอง ซึ่งเขียนเป็นความสัมพันธ์ได้ว่า จากสมการที่ได้เรียกว่า กฎของคูลอมบ์ (Coulomb’s law) ใช้คำนวณหาแรงที่กระทำระหว่างประจุบนอนุภาคทั้งสอง ซึ่งเรียกว่า จุดประจุ เมื่อหน่วยของประจุเป็นคูลอมบ์(C) แรงมีหน่วยนิวตัน ระยะทางมมีหน่วยเปนเมตร เมื่อประจุทั้งสองอยู่ในสุญญากาศ หรือ อากาศแล้ว ค่าK หาได้จากการทดลองมีค่า ดยค่า K หาได้จาก ก่อนหน้า: การทดลอบที่แสดงว่าประจุจะกระจายอยู่เฉพาะผิวนอกของตัวนำเท่านั้น

ก ก

ก ก
 



 1
11 ก ก

11.1 ก
( wave)
ก ก

ก !"

#$%ก


& กก ก%

& ก'


"ก # $%&'ก()
1. * +
ก,


2. * ก $
 
+
ก,


3. * #$%ก
/+0

1

, + $ 0 3.

2
3* &, 4
#0
$ #$%ก
/

2
 



* + 5ก3667 ก2

*# + ก "',
1. *# + ก- . ก/ "ก 0 + 1)&' 2
1.1 - . 3
*

#$"
8 กก$



' 2
 

",
2 ก
* + 5ก3667 4
#0

1.2 - . 3
*

9 /

% %ก$




' 2
 

 
ก & กก $

  4
#0

2. *# + ก ) 5 % กก $6&- 3ก $ ก 0 + 1)&' 2
2.1 ก
$ #$%ก
/

2
 

",
/
0
2 ก

/
%
 
 
#0
+ 0 + #0
 0 % *:$

  4
#0

2.2 +. '% 7ก1889
3* #0
$ #$%ก
/

2
 
%


  4
#0

3. )

ก* & ก +
ก,
ก%
 +
!
+
$"

2


#ก#
3 # * $ก;
ก%
  2
 
%
ก *
0
#
 
& ก
/
% $"
 <
4. - '

* & ก +
ก,
ก%
+ < $"
 

#

 
#

& ก !"
/
% %
11.2 :(3 ;#


& ก
$ %3 ก & กก $
 
+
ก,

'
#$%ก
$

ก $ 3 ก $ * $
$"
$ก;

2
#
 < &!


0% ก 6
sine + cosine

การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี




การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. บอกรายละเอียดของสมมติฐานเพื่อใช้อธิบายการสลายของธาตุกัมมันตรังสีได้


แนวทางการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง
ใช้เอกสารประกอบการเรียน ตอนที่ 3 เรื่อง การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี แล้วปฏิบัติ ดังนี้
                1. ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการสลายตัวของนิวเคลียส และอนุกรมการสลาย
                2. ทำแบบฝึกหัดที่ 3 เรื่อง การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
                3. ตรวจแบบฝึกหัดที่ 3 จากชุดเฉลยแบบฝึกหัด
                4. ศึกษาเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสีเพิ่มเติม
                5. ปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาดจากการทำแบบฝึกหัด
 
















3.1 การสลายตัวของนิวเคลียส
               เนื่องจากนิวเคลียสของธาตุต่างๆ ในธรรมชาติบางชนิดเป็น นิวเคลียสเสถียร (stable nucleus) และบางชนิดเป็นนิวเคลียสไม่เสถียร (unstable nucleus) โดยนิวเคลียสไม่เสถียรนี้ จะมีการสลาย (decay) ปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคเบตา ออกมา ทำให้โครงสร้างของนิวเคลียสเปลี่ยนไป เกิดเป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่ กระบวนการนี้ เรียกว่า การสลายกัมมันตรังสี (radioactive decay)
                การที่นิวเคลียสของธาตุหนึ่ง เกิดการสลายเป็นนิวเคลียสใหม่ เราเรียกนิวเคลียสที่เกิดการสลายว่า นิวเคลียสตั้งต้น (parent nucleus) นิวเคลียสใหม่ที่เกิดจากการสลายตัว เรียกว่า นิวเคลียสลูก (daughter nucleus) นิวเคลียสลูกและรังสีที่ปล่อยออกมา เราเรียกว่า ผลผลิตการสลาย (decay products)
                ตัวอย่างการสลายกัมมันตรังสี แบ่งได้ 3 ประเภทใหญ่ ดังนี้
                1. การสลายตัวให้รังสีแอลฟา (Alpha Ray) เมื่อนิวเคลียสของฮีเลียม () ถูกปลดปล่อยออกมาจากนิวเคลียสด้วยพลังงานต่างๆ กัน และมีการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส โดยเลขมวลมีจำนวนลดลง 4 และเลขอะตอมลดลง 2 ทำให้ได้นิวเคลียสใหม่
                   สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีที่ให้รังสีแอลฟา เป็นดังนี้
                                                                    ®        +  

                         ตัวอย่าง การสลายตัวของนิวเคลียสให้รังสีแอลฟา
                                                                    ®        +  
                                       ยูเรเนียม  238  สลายตัวให้ธอเรียม 234  และอนุภาคแอลฟา 

              หมายเหตุ :: การหาจำนวนอนุภาคแอลฟาและเบตาจากการสลายของนิวเคลียส หรือการรวมตัวของนิวเคลียส เพื่อให้เกิดเป็นนิวเคลียสใหม่ จะมีหลักว่า
                       1. ผลรวมของเลขอะตอมก่อนและหลังการสลายจะต้องเท่ากัน
                       2. ผลรวมของเลขมวลก่อนและหลังการสลายจะต้องเท่ากัน

                2. การสลายตัวให้รังสีเบตา แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ เบตาลบ(b-)และ เบตาบวก (b+)
                     2.1 การสลายตัวให้เบตาลบ (b- หรือ ) เกิดจากการสลายนิวตรอน 1 ตัว ภายในนิวเคลียสเป็นโปรตอนและอิเล็กตรอน ทำให้นิวเคลียสใหม่ที่เกิดขึ้น มีเลขอะตอมเพิ่มขึ้น 1
                           สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีที่ให้รังสีเบตาลบ  เป็นดังนี้
                                                                    ®        +  
                            ตัวอย่าง การสลายตัวของนิวเคลียสให้รังสีเบตา
                                                                   ®        +  
                            บิธมัส 210  สลายตัวให้โปโลเนียม 210  และรังสีเบตาลบ

                     2.2 การสลายตัวให้เบตาบวก (b+ หรือ ) เกิดจากการที่โปรตอน 1 ตัว ภายในนิวเคลียสเปลี่ยนสภาพกลายเป็นนิวตริน 1 ตัว ทำให้นิวเคลียสใหม่ มีเลขอะตอมลดลง 1
                           สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีที่ให้รังสีเบตาบวก  เป็นดังนี้
                                                                    ®        +  
                            ตัวอย่าง การสลายตัวของนิวเคลียสให้รังสีเบตาบวก
                                                                    ®        +  
                                            ออกซิเจน 14 สลายตัวให้ไนโตรเจน 14 และรังสีเบตาบวก

                3. การสลายตัวให้รังสีแกมมา (g) ในการสลายกัมมันตรังสี มักมีรังสีแกมมาออกมาด้วย ทั้งนี้เพราะ นิวเคลียสจะมีการเปลี่ยนระดับพลังงานมาสู่ระดับที่ต่ำกว่า จึงทำให้มีการแผ่รังสีแกมมา ซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา โดยไม่มีผลต่อการเปลี่ยนเลขมวลและเลขอะตอมแต่อย่างใด
                           สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีที่ให้รังสีแกมมา เป็นดังนี้
                                                                    ®        +   g

           ตัวอย่าง การสลายตัวของนิวเคลียสให้รังสีแกมมา
                         รังสีแกมมาเกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานของนิวเคลียส   จากสภาวะกระตุ้นไปสู่สภาวะพื้น  ดังตัวอย่างการสลายตัวของบิธมัส
                       (  6.086    MeV  )                                    …….…… (1)

                      บางครั้งนิวเคลียสของแทลเลี่ยม  จะอยู่ในสภาวะกระตุ้น   ดังสมการจะได้

                                          (  5.614   MeV   )                                         …………. (2)
                      จะเห็นว่าพลังงานจลน์ของอนุภาคแอลฟามีค่าน้อยกว่าเดิมอยู่   0.472   MeV   พลังงานจำนวนนี้จะถูกเก็บอยู่ในนิวเคลียสของแทลเลี่ยม
                      ในเวลาต่อมานิวเคลียสนี้จะคายพลังงานจำนวนนี้ออกมา  และนิวเคลียสก็จะกลับมาสู่สภาวะพื้นพลังงานที่คายออกมานี้เรียกว่ารังสีแกมมา  ดังสมการ
                              (  0.472  MeV  )   
               (สภาวะกระตุ้น)         (สภาวะพื้น  )  

ตัวอย่างที่ 5 จากสมการต่อไปนี้ และ  Y   คือ อนุภาคอะไร มีสัญลักษณ์อย่างไร
                      (Plutonium )   ®    (Amerricium)   +   X
                          ( Americium) ®       (Neptunium )   +   Y
วิธีทำ                จากสมการ  1     เขียนใหม่ได้
                                        ®    
                            จากสมการ   จะได้          241  =   241+  A
                                                        \      A   =      0
                                                และ               94    =    95+  Z
                                                                         Z     =   -1
                         นั่นคือ    คือ     ได้แก่ อนุภาคเบตานั่นเอง
                         จากสมการ  2   เขียนใหม่ได้
                                                                ®  
                           จากสมการจะได้      241  =   237+  A   
                                                                   A   =     4
                            และ                          95   =   93  +Z   
                                                                   Z      =     2
                         \ คือ   ได้แก่อนุภาคแอลฟา    นั่นเอง
                       \  X    คือ  b   =   และ    คือ   a    =                                  ตอบ

ตัวอย่างที่ 6 ในการสลายตัวของ   กลายเป็น    จะมีการปลดปล่อยอนุภาคต่างๆ  กี่อนุภาค   ยกเว้นรังสีแกมมา
วิธีทำ     ให้    สลายตัวเป็น    ปล่อยอนุภาค   a  และ   b  ออกมา
               Na  และ  Nb   ตัว  ตามลำดับ  ซึ่งเขียนสมการได้ดังนี้
                                   ®             
                จากสมการ ผลรวมของเลขมวลซ้ายมือ  =   ผลรวมของเลขมวลขวามือ
                              \                               235   =     211+4Na
                                                                        Na     =        =       =   6
                        ผลรวมของเลขอะตอมซ้ายมือ    =   ผลรวมของเลขอะตอมขวามือ
                                                                      92      =     82+2Na  -  Nb
                                                                                 92      =      82+  (    2´  6)    -Nb
                                                                         Nb    =    2
      นั่นคือ ในการสลายตัวนี้จะได้อนุภาค  b   =   2     ตัวและอนุภาค  a   =    6   ตัว      ตอบ
 



3.2 อนุกรมการสลาย
                ในการสลายกัมมันตรังสี ถ้านิวเคลียสที่เกิดใหม่ยังคงไม่เสถียรก็จะเกิดการสลายต่อไป จนได้นิวเคลียสเสถียร การสลายจึงจะยุติ เช่น การสลายของยูเรเนียม-238 ให้ทอเรียม-234 ซึ่งไม่เสถียรจะสลายต่อให้นิวเคลียส โพรแทกทิเนียม-234 ต่อไป จนในที่สุดจะได้ตะกั่ว-206 ซึ่งเป็นธาตุสุดท้ายและเป็นธาตุเสถียร (stable element) ซึ่งไม่มีการสลายต่อไป ทั้งนี้ เราสามารถเขียนลำดับการสลายตัวได้เป็น อนุกรม(series)
ดังตารางที่
3
     ตารางที่ 3 การสลายตัวของอนุกรม Uranium

นิวเคลียส

สลายตัวให้
กลายเป็น
ชื่อนิวเคลียส
เวลาครึ่งชีวิต
 
 
ธอเรียม
โพรแตกดิเนียม
ยูเรเนียม
ธอเรียม
เรเดียม
เรดอน
โพโลเนียม
ตะกั่ว
บิสมัธ
ตะกั่ว
บิสมัธ
ตะกั่ว
4.51 x 109   ปี
24.1  วัน
1.18   ปี
2.48 x 10 5   ปี
8.0 x 104   ปี
1620   ปี
3.82   วัน
3.05  นาที
26.8   นาที
1.64 x 10-4 วินาที
21.4  ปี
138.4    วัน
                       
                ทำนองเดียวกันการสลายตัวของนิวเคลียสในอนุกรม   Actinium,  Thorium  และ  Neptunium
เราสามารถนำมาเขียนเป็นตารางได้เช่นกัน แสดงได้ดังตารางที่ 4
  ตารางที่ 4 การสลายตัวของนิวเคลียสในอนุกรม   Actinium,  Thorium  และ  Neptunium
อนุกรม
ชื่อ
ธาตุเริ่มต้น
ธาตุสุดท้าย
สัญลักษณ์
ครึ่งชีวิต
4n
Thorium
232Th
1.39´1010  ปี
4n+1
Neptunium
237Np
2.25´106   ปี
4n+2
Uranium
238U
4.51´109   ปี
4n+3
Actinium
235U
7.07´108     ปี

            เมื่อ  n   เป็นจำนวนเต็ม
            อนุกรม    Thorium      ทุกๆ นิวเคลียสในอนุกรมนี้   มีค่าเลขมวล      A  =  4n
            อนุกรม    Neptunium  ทุกๆ นิวเคลียสในอนุกรมนี้   มีค่าเลขมวล      A  =   4n+1
            อนุกรม    Uranium      ทุกๆ นิวเคลียสในอนุกรมนี้   มีค่าเลขมวล      A  =   4n+2
            อนุกรม    Actinium     ทุกๆ นิวเคลียสในอนุกรมนี้   มีค่าเลขมวล      A  =   4n+3
            นิวเคลียสสุดท้ายของแต่ละอนุกรม  จะเป็นนิวเคลียสที่มีเสถียรภาพสูง  คือจะไม่มีการสลายตัวต่อไป   และนิวเคลียสต่าง  ๆ  ที่เกิดขึ้นในแต่ละอนุกรมได้แสดงไว้ดังภาพที่





















รูปที่  2   การสลายตัวของนิวเคลียสในอนุกรมต่าง  ๆ

ภาพที่ 3 อนุกรมการสลายของธาตุกัมมันตรังสี


                     จากภาพที่ 3 จะได้แกนตั้งแสดงจำนวนนิวตรอน  และแกนนอนแสดงจำนวนโปรตอน
ถ้านิวเคลียสสลายตัวไปทางซ้ายจะให้อนุภาคแอลฟาออกมา  และถ้าสลายตัวไปทางขวาจะปล่อยอนุภาคเบตาออกมา 


ตัวอย่างที่  7 จงเขียนสมการการสลายตัวของนิวเคลียสของธาตุต่อไปนี้
                ก. นิวเคลียสของยูเรเนียม - 234 ให้อนุภาคแอลฟา    ข. นิวเคลียสของเรเดียม - 228   ให้อนุภาคเบตา
                ค. นิวเคลียสของธอเรียม - 229  ให้อนุภาคแอลฟา    ง. นิวเคลียสของธอเรียม - 231  ให้อนุภาคเบตา
วิธีทำ เราต้องทำการตรวจสอบเสียก่อนว่านิวเคลียสที่โจทย์กำหนดให้นั้นอยู่ในอนุกรมใด
         โดยการนำเลขมวลหารด้วย   4   เหลือเศษเท่าใดก็จะทำให้เรารู้อนุกรมของนิวเคลียสธาตุนั้น
                  . นิวเคลียสของยูเรเนียม   -  234  =  4n+  2  อยู่ในอนุกรมยูเรเนียม
                               จากรูปที่  3   จะได้       ®         
                    . นิวเคลียสของเรเดียม     -  228  =      4n   อยู่ในอนุกรมธอเรียม
                                    จากรูปที่   จะได้ ®        
                  . นิวเคลียสของธอเรียม    -  229   =   4n+1   อยู่ในอนุกรมเนปจูเนี่ยม
                                    จากรูปที่   จะได้   ®  
                  . นิวเคลียสของธอเรียม      -231   =    4n  +  3   อยู่ในอนุกรมแอกติเนี่ยม
                                     จากรูปที่   3   จะได้®    

หมายเหตุ :: การหาจำนวนอนุภาคแอลฟาและเบตา จากการสลายตัวของนิวเคลียส มีหลักว่า
                     1. ผลรวมของเลขอะตอมก่อนและหลังการสลายจะต้องเท่ากัน
                     2. ผลรวมของเลขมวลก่อนและหลังการสลายจะต้องเท่ากัน
                         กำหนดให้นิวเคลียสของธาตุ สลายให้นิวเคลียสของธาตุใหม่เป็นและมีการ
ปล่อยอนุภาค a และ b ออกมาอย่างละ  Na  และ  Nb  ตัวตามลำดับต้องการหาค่าของ  Na   และ Nb     
                       จากข้อมูลที่กำหนดให้เขียนเป็นสมการการสลายตัวได้
                                                            ®            +  Nb
                         หา  Na    จากผลรวมของเลขมวลซ้ายมือ   =    ผลรวมของเลขมวลขวามือ
                    จากสมการ                   A0   =    A   +    4Na + 0
                                              \      Na   =                                                                                       (1)
                         หา   Nb    จากผลรวมของเลขอะตอมซ้ายมือ    =   ผลรวมเลขอะตอมขวามือ
                         จากสมการ                              Z0    =   Z  +   2Na -   Nb
                                                                                   Nb   =     Z  -  Z0+   2()
                                                                                   Nb   =    Z- Z0                                       (2)
                ทั้งนี้ การหา Na และ Nb อาจใช้วิธีการแก้สมการธรรมดาๆ ก็ได้ ไม่ต้องจำสูตร
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------