O- NET

O- NET คณิตศาสตร์ ประกอบด้วยเนื้อหาดังนี้ 1 เซต จำนวนจริง การใช้เหตุผล 2.ควาสัมพันธ์และ ฟังก์ชั่น 3.ลำดับและอนุกรม 4.สถิติและข้อมูล A-NET คณิตศาสตร์ ประกอบด้วยเนื้อหาดังนี้ 1. ตรรกศาสตร์ 2. ระบบจำนวนจริง 3. ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น 4. เมทริกซ์และดีเทอร์มิแนนต์ 5. ฟังชั่น 6. เรขาคณิตวิเคราะห์ 7. ฟั่งชั่นเอกซ์โพเนนเชียลและ ฟั่งชั่นลอกาลิทึม 8. ฟั่งชั่นตรีโกณมิติ 9. เวกเตอร์ในสามมิติ 10. จำนวนเชิงซ้อน 11.กำหนดการเชิงซ้อน 12.ควาน่าจะเป็น 13ลำดับอนันต์และอนุกรมอนันท์ 14.แคลคูลัสเบื้องต้น 15.การวิเคราะห์ข้อมูลเบือ้งต้น 16 การแจกแจงปกติ 17ความสัมพันธ์เชิงฟั่งก์ชั่นระหว ่างข้อมูล O-NET วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยเนื้อหาดังนี้ 1. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต 1.1 องค์ประกอบของเซลล์ 1.2 การลำเลียงผ่านเซลล์แบบต่าง ๆ 1.3 กลไกการรักษาดุลยภาพ - น้ำในพืช น้ำและสารต่าง ๆ ในร่างกาย กรด-เบสในร่างกาย ฯลฯ 1.4 ลักษณะทางพันธุกรรมและกระบวนการถ่ ายทอดสารพันธุกรรม 1.5 การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม 1.6 เทคโนโลยีชีวภาพ 2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 2.1 ระบบนิเวศ 2.2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่ งมีชีวิต 2.3 ความหลากหลายทางชีวภาพ 2.4 คนกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล ้อม 3. สารและสมบัติของสาร 3.1 สารชีวโมเลกุล / ไขมันและน้ำมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรด 3.2 ปิโตรเลียม / การกำเนิดและแหล่ง การกลั่นและผลิตภัณฑ์ แก๊สธรรมชาติ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน 3.3 พอลิเมอร์ / พอลิเมอร์ธรรมชาติและพอลิเมอร์สัง เคราะห์ พลาสติก ยางสังเคราะห์ เส้นใยสังเคราะห์ 3.4 ปฏิกิริยาเคมี พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 3.5 โครงสร้างของอะตอมและตารางธาตุ 3.6 ธาตุและสารประกอบ / พันธะเคมี สมบัติของธาตุตามหมู่ธาตุ 4. แรงและการเคลื่อนที่ 4.1 การเคลื่อนที่เป็นแนวตรง / ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดและเ วลา อัตราเร็ว ความเร็ว ความเร่ง 4.2 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบวงกลมและแบบฮาร์ม อนิกอย่างง่าย 4.3 แรงและสนามของแรง / สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า สนามโน้มถ่วง 4.4 การเคลื่อนที่ของวัตถุหรืออนุภาคใ นสนามต่าง ๆ 5. พลังงาน 5.1 คลื่น / คลื่นกล องค์ประกอบและสมบัติของคลื่น 5.2 เสียงและการได้ยิน 5.3 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 5.4 กัมมันตภาพรังสี แรงนิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร ์ 6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก 6.1 โครงสร้างของโลก 6.2 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา / การเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟ แหล่งภูเขาไฟ 6.3 แผ่นธรณีภาคและการเคลื่อนที่ 6.4 หลักฐานและข้อมูลทางธรณีภาค / รอยต่อ รอยแยกแผ่นธรณีภาค อายุหิน ซากดึกดำบรรพ์ 6.5 อายุทางธรณีวิทยา การลำดับชั้นหิน 7. ดาราศาสตร์และอวกาศ 7.1 กำเนิดเอกภพ 7.2 กาแลกซี / กาแลกซีทางช้างเผือก กาแลกซีเพื่อนบ้าน 7.3 ดาวฤกษ์ / วิวัฒนาการ ความสว่าง สี และอุณหภูมิ ระยะห่าง 7.4 กำเนิดระบบสุริยะ 7.5 เทคโนโลยีอวกาศ / ดาวเทียมและยานอวกาศ แระโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศ 8. ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโล ยี กระบวนการต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น การสำรวจตรวจสอบ การสังเกต การเก็บข้อมูล การตั้งสมมติฐาน การทดลอง การวิเคราะห์ การสรุปผล ซึ่งควรมีสอดแทรกตามเนื้อหาต่าง ๆ ในสาระ 1- 7 A-NET วิทยาศาสตร์-ฟิสิกส์ 1. กลศาสตร์ 1.1 การเคลื่อนที่ / ตำแหน่ง ความเร็ว ความเร่ง เวกเตอร์ของปริมาณต่าง ๆ ความเร็วสัมพัทธ์และกรอบอ้างอิง 1.2 กฏของการเคลื่อนที่ / แรง มวล น้ำหนัก จุดศูนย์กลางมวล จุดศูนย์กลางของความโน้มถ่วง แรงเสียดทาน 1.3 การเคลื่อนที่บางแบบ / โพรเจกไทล์ วงกลม ฮาร์มอนิกอย่างง่าย 1.4 งานและพลังงาน / ความหมายและกฏเกี่ยวกับงานและพลัง งาน 1.5 โมเมนตัมและการดล / ความหมายและหลักการเกี่ยวกับการดล และโมเมนตัมในการชน 1.6 การเคลื่อนที่แบบหมุน / หลักการเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบ หมุน โมเมนต์ของความเฉื่อย โมเมนตัมเชิงมุม 1.7 หลักการเกี่ยวกับสภาพสมดุล สภาพยืดหยุ่น 2. กลศาสตร์ของการไหล 2.1 สมบัติต่าง ๆ ของการไหล 2.2 ไลศาสตร์ของของไหล / หลักการของแบร์นูลลี 3. ความร้อน 3.1 อุณหภูมิและความร้อน 3.2 การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร ้อน การเปลี่ยนสถานะ การถ่ายโอนความร้อน 3.3 สมบัติของแก๊สเกี่ยวกับ อุณหภูมิ วามดัน และปริมาตร 3.4 ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 3.5 พลังงานภายในระบบของแก๊ส 4. คลื่น 4.1 คลื่นกล คลื่นผิวน้ำ 4.2 หลักการซ้อนทับของคลื่น 4.3 สมบัติของคลื่นเกี่ยวกับ การสะท้อน การหักเห การแทรกสอดและการเลี้ยวเบน 4.4 คลื่นนิ่งและปรากฏการณ์การสั่นพ้อ ง 5. เสียง 5.1 คลื่นเสียง การเคลื่อนที่ อัตราเร็ว ความเข้มเสียงและการได้ยินของหู 5.2 เสียงดนตรี ระดับและคุณภาพ สเปกตรัมความถี่ 5.3 ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คลื่นกระแทก บีตส์ 5.4 การประยุกต์ความรู้ความเข้าใจเรื่ องเสียง 6. แสง 6.1 การแทรกสอดและการเลี้ยวเบนของแสง 6.2 เกรติงและสเปกตรัมของแสง 6.3 การกระเจิง 6.4 ปรากฏการณ์เรือนกระจก 6.5 การเกิดภาพจากการสะท้อนที่กระจกเง าราบ และกระจกโค้งทรงกลม 6.6 การเกิดภาพจากการหักเหของแสงผ่านเ ลนส์บาง 6.7 ทัศนอุปกรณ์ เช่น กล้องถ่ายภาพ กล้องจุลทรรศน์ กล้องโทรทรรศน์ 6.8 ปรากฏการณ์บางประการของแสง เช่นการกระจายแยกสี การสะท้อนกลับหมด รุ้ง มิราจ 6.9 ความสว่าง 6.10 ตาและการมองเห็นสี 6.11 การผสมสารสีและการผสมแสงสี 7. ไฟฟ้าและแม่เหล็ก 7.1 ไฟฟ้าสถิต / แรงระหว่างประจุไฟฟ้า สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ตัวเก็บประจุ การประยุกต์ความรู้ 7.2 ไฟฟ้ากระแส / กระแสไฟฟ้าในตัวนำ กฏของโอห์ม พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า 7.3 การต่อตัวต้านทานและแบตเตอรี่ การหากระแสไฟฟ้าในวงจร 7.4 เครื่องวัดไฟฟ้าต่าง ๆ 7.5 สนามไฟฟ้าและฟลักซ์แม่เหล็ก 7.6 ความสัมพันธ์ของสนามไฟฟ้ากับสนามแ ม่เหล็ก 7.7 แรงระหว่างประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่หร ือกระแสไฟฟ้ากับสนามแม่เหล็ก 7.8 การประยุกต์ เช่น มอเตอร์ไฟฟ้า แกลวานอมิเตอร์ 7.9 แรงเคลื่อนไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเหนี ่ยวนำ 7.10 เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 7.11 ไฟฟ้ากระแสสลับ 7.12 กำลังและพลังงานไฟฟ้าสำหรับไฟฟ้าก ระแสสลับ 7.13 อุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้านเรือนและการใช้ อย่างปลอดภัยที่ควรทราบ 8. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 8.1 ทฤษฎีของแมกเวลล์และการทดลองของเฮ ิรตซ์ 8.2 การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 8.3 ความรู้เกี่ยวกับสเปกตรัมคลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้าในช่วงต่าง ๆ 8.4 โพลาไรเซชั่น 9. ฟิสิกส์อะตอม 9.1 การค้นพบอิเล็กตรอน 9.2 แบบจำลองต่าง ๆ ของอะตอม 9.3 สเปกตรัมจากอะตอม 9.4 ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก 9.5 ทฤษฎีของโบร์ 9.6 การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์ 9.7 รังสีเอ็กซ์ 9.8 ทวิภาพของคลื่นและอนุภาค 9.9 อะตอมตามแนวคิดกลศาสตร์ควอนตัม 9.10 เลเซอร์ 10. ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 10.1 องค์ประกอบของนิวเคลียสของอะตอม 10.2 กัมมันตรังสีและการเปลี่ยนนิวเคลี ยส 10.3 แรงนิวเคลียร์และพลังงานยึดเหนี่ย ว 10.4 ไอโซโทปและเสถียรภาพของนิวเคลียส 10.5 ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชันและฟิวชัน 10.6 การใช้ประโยชน์จากกัมมันตรังสีและ พลังงานนิวเคลียร์ 10.7 อันตรายจากกัมมันตรังสี 11. การใช้อิเล็กทรอนิกส์ในการรับรู้แ ละควบคุมที่ควรทราบ A-NET วิทยาศาสตร์-เคมี 1.อะตอมและตารางธาตุ 1.1 แบบจำลองอะตอม 1.2 สเปกตรัมของแสงจากอะตอม 1.3 แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก 1.4 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม 1.5 ตารางธาตุ 1.6 สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ 2. พันธะเคมี 2.1 พันธะไอออนนิก 2.2 พันธะโควาเลนต์ 2.3 พันธะโลหะ 3. สมบัติของธาตุและสารประกอบ 3.1 สมบัติของสารประกอบของธาตุตามคาบ 3.2 ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบของธ าตุตามหมู่ / หมู่ IA IIA และ VIIA 3.3 ธาตุแทรนซิชัน 3.4 ธาตุกึ่งโลหะ 3.5 ธาตุกัมมันตรังสี 3.6 ธาตุและสารประกอบในสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม 4. ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี 4.1 มวลอะตอม มวลโมเลกุล โมล 4.2 ความเข้มของสารละลาย 4.3 การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี 4.4 สมการเคมี 4.5 การคำนวณปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมี 5. ของแข็ง ของเหลวและแก๊ส 5.1 สมบัติของของแข็ง / การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง ชนิดของผลึก การเปลี่ยนสถานะ 5.2 สมับติของของเหลว / ความตึงผิว การระเหย ความดันไอ จุดเดือดและจุดหลอมเหลว 5.3 สมบัติของแก๊ส / กฏของบอยล์ กฏของชาร์ลและกฏแก๊สสมบูรณ์ การแพร่ของแก๊ส 5.4 เทคโนโลยีเกี่ยวกับสมบัติของของแข ็ง ของเหลวและแก๊ส / การทำน้ำแข็ง การทำไนโตรเจนเหลว การสกัดโดยใช้ CO2 ในรูปของไหล 6. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 6.1 พลังงานกับปฏิกิริยเคมี 6.2 ปัจจัยที่มีผลต่อปฏิกริรยาเคมี 7. สมดุลเคมี 7.1 การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ 7.2 การเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดสภาวะส มดุล 7.3 ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นขอ สารต่าง ๆ ณ สภาวะสมดุล 7.4 ปัจจัยที่มีผลต่อสภาวะสมดุล 7.5 หลักการเลอชาเตอลิเอ 7.6 สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวด ล้อม 8. กรด - เบส 8.1 สารละลายอิเล็กโทรไลต์และนอนอิเล็ กโทรไลต์ 8.2 สารละลายกรดและสารละลายเบส 8.3 ทฤษฎีกรด-เบส 8.4 คู่กรด-เบส 8.5 การแตกตัวของกรดและเบส 8.6 การแตกตัวเป็นไอออนของน้ำ 8.7 pH ของสารละลาย 8.8 อินดิเคเตอร์สำหรับกรดและเบส 8.9 สารละลายกรด-เบสในชีวิตประจำวันและในสิ่งมีชีวิต 8.10 ปฏิกิริยาของกรดและเบส ปฏิกิริยาไฮโดรลิซีส 8.11 การไทเทรดกรด-เบส 8.12 สารละลายบัฟเฟอร์ 9. ไฟฟ้าเคมี 9.1 ปฏิกิริยารีดอกซ์ 9.2 การดุลสมการรีดอกซ์ 9.3 เซลล์ไฟฟ้าเคมี / เซลล์กัลวานิก เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การผุกร่อนของโลหะและการป้องกัน 9.4 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ย วข้องกับไฟฟ้าเคมี 10. ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม 10.1 อุตสาหกรรมแร่ 10.2 อุตสาหกรรมเซรามิกส์ 10.3 อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดีย มคลอไรด์ 10.4 อุตสาหกรรมปุ๋ย 11. เคมีอินทรีย์ 11.1 พันธะคาร์บอน / สูตรโครงสร้าง ไอโซเมอริซึม 11.2 หมู่ฟังก์ชั่น 11.3 สารประกอบไฮโดรคาร์บอน / สมบัติและประเภท 11.4 สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเ จนเป็นองค์ประกอบ 11.5 สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุไนโตรเ จนเป็นองค์ประกอบ 11.6 สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเ จนและไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ 12. เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภั ณฑ์ 12.1 ถ่านหิน / การเกิด การใช้ประโยชน์ 12.2 หินน้ำมัน / การเกิด การใช้ประโยชน์ 12.3 ปิโตรเลียม / การเกิด การสำรวจ การกลั่น การแยกแก๊สธรรมชาติ ปิโตรเคมีภัณฑ์ 12.4 พอลิเมอร์ / ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน โครงสร้างและสมบัติ ผลิตภัณฑ์ 12.5 ภาวะมลพิษจากการผลิตหรือใช้ผลิตภั ณฑ์จากเชื้อเพลิง 13. สารชีวโมเลกุล 13.1 โปรตีน / พันธะ โครงสร้าง ชนิดและหน้าที่ เอนไซม์ การแปลงสภาพ 13.2 คาร์โบไฮเดรต / ชนิดและโครงสร้าง สมบัติและปฏิกิริยา 13.3 ลิพิด / ไขมันและน้ำมัน ฟอสโฟลิพิด ไข สเตรอยด์ 13.4 กรดนิวคลีอิค โครงสร้างของ DNA และ RNA A-NET วิทยาศาสตร์-ชีววิทยา 1. ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา 1.1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 1.2 การศึกษาชีววิทยา 1.3 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต 1.4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต 2. การรักษาดุลยภาพของร่างกายมนุษย์แ ละสัตว์ 2.1 ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารเพื่ อให้ได้พลังงาน 2.2 การรักษาดุลยภาพของร่างกาย 2.2.1 ระบบหายใจกับการรักษาดุลยภาพ 2.2.2 ระบบขับถ่ายกับการรักษาดุลยภาพ 2.2.3 ระบบหมุนเวียนเลือดกับการรักษาดุล ยภาพ 3. การประสานงานในร่างกายและการสืบพั นธุ์ของมนุษย์และสัตว์ 3.1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3.2 การรับรู้และการตอบสนอง 3.3 ระบบต่อมไร้ท่อ 3.4 พฤติกรรมของสัตว์ 3.5 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต 4. การดำรงชีวิตของพืช 4.1 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 4.2 การสังเคราะห์แสง 4.3 การสิ้นพันธุ์ของพืชดอก 4.4 การตอบสนองของพืช 5. พันธุ์ศาสตร์ 5.1 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม 5.2 ยีนและโครโมโซม 5.3 พันธุศาสตร์ 5.4 วิวัฒนาการ 5.5 ความหลากหลายทางชีวภาพ 6.นิเวศวิทยา 6.1 ระบบนิเวศ 6.1.1 ความหลากหลาย 6.1.2 ความสัมพันธ์ 6.1.3 การถ่ายทอดพลังงาน 6.1.4 การเปลี่ยนแปลงที่ 6.2 ประชากร 6.2.1 ความหนาแน่นและการแพร่กระจาย 6.2.2 ขนาดของประชากร 6.2.3 แบบแผนการเจริญเติบโตของประชากร 6.2.4 แบบแผนการมีชีวิตรอด 6.2.5 ประชากรมนุษย์ 6.3 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้ อม 6.3.1 มนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติ 6.3.2 หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

ไม่มีความคิดเห็น: