แบบทดสอบดาราศาสตร์

แบบทดสอบดาราศาสตร์ บทที่ 1-3
บทที่1 โครงสร้างโลก

1.โครงสร้างโลกแบ่งตามลักษณะมวลสารได้ชั้นใหญ่ๆสามชั้นอะไรบ้าง?
ก.    ชั้นเปลือกโลก ใต้เปลือกโลก แก่นโลก
ข.     ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก ธรณีภาค
ค.    ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก หินหนืด
ง.      ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก แก่นโลก

2.เปลือกโลกภาคพื้นทวีป ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง?
    ก. ซิลิคอนและซิลิกา
    ข. ซิลิคอนและอะลูมินา
    ค.เหล็กและทองแดง
    ง. ซิลิคอนและแมกนีเซียม

3.เปลือกโลกแบ่งออกเป็น 2 บริเวณคือ?
    ก. เปลือกโลกภาคพื้นทวีปและเปลือกโลกภาคพื้นน้ำ
    ข.เปลือกโลกภาคพื้นดินและเปลือกโลกภาคพื้นน้ำ
   ค.เปลือกโลกชั้นนอกและเปลือกโลกชั้นใน
   ง.เปลือกโลกภาคพื้นทวีปและเปลือกโลกใต้มหาสมุทร

4.ชั้นเนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลกรวมกันเรียกว่าอะไร?
   ก. แมนเทิล              ข.ธรณีภาค
  ค.ธรณีภาคพื้นทวีป   ง.ธรณีภาคพื้นเปลือกโลก

5.เปลือกโลกใต้มหาสมุทรประกอบด้วยธาตุอะไรบ้าง?
ก.ซิลิคอนและแมกนีเซียม
ข.ซิลิคอนและซิลิกา
ค.ซิลิคอนและอะลูมินา
ง.ซิลิคอนและเหล็ก

6.จุดกำเนิดการไหวสะเทือนของแผ่นดินไหว เรียกว่าอะไร?
ก.จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว
ข.ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
ค.จุดกำเนิดของแผ่นดินไหว
ง.จุดศูนย์กลางการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน

7.ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว อยู่บริเวณใด?
ก.ใต้เนื้อโลก               ข.ใต้เปลือกโลก
ค.แก่นโลกชั้นใน          ง.แก่นโลกชั้นนอก

8.ตำแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว เรียกว่าอะไร?
ก.จุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว
ข.จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
ค.จุดเหนือศูนย์กำเนิดแผ่นเปลือกโลก
ง.จุดเหนือศูนย์การสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว

9.ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว?
ก.แผ่นดินเปลือกโลกขยายตัวและหดตัวเท่ากัน
ข.แผ่นเปลือกโลกทรุดตัวหรือยุบตัว
ค.การเกิดภูเขาไฟระเบิดอย่างรุนแรง
ง.การเคลื่อนที่ชนกันของแผ่นเปลือกโลก

10.ปรากฏการณ์ใดเกิดขึ้นเมื่อเกิดแผ่นดินไหว?
ก.เปลือกโลกทรุดตัว
ข.เปลือกโลกเกิดการกระแทกตามแนวระดับ
ค.เปลือกโลกเกิดกระทบกระแทกออกไปบริเวณรอบๆในรูปของคลื่น
ง.ถูกทุกข้อ

11.ทฤษฎีที่ใช้อธิบายถึงกำเนิดของแผ่นดินมหาสมุทรและสิ่งมีชีวิตที่ตายทับถม
อยู่ในหินบนเปลือกโลกคือทฤษฎีใด?
ก.ทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีป
ข.ทฤษฎีการขยายตัวของพื้นทวีป
ค.ทฤษฎีแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค
ง.ผิดทุกข้อ


12.หลักฐานที่นักธรณีวิทยาและนักวิทยาศาสตร์ เชื่อว่าโลกของเรามีกระบวนการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาคือ?
ก.การปรากฏรอยแตกของเปลือกโลก
ข.การเกิดแผ่นดินไหว
ค.การเกิดภูเขาและภูเขาไฟ
ง.ถูกทุกข้อ

13.สาเหตุที่ทำให้เปลือกโลกเคลื่อนที่คือข้อใด?
ก.การประทุของหินแข็งในชั้นเปลือกโลก
ข.การไหลของหินหนืดในชั้นเนื้อโลก
ค.การเคลื่อนที่ของแร่ธาตุในแก่นโลกชั้นใน
ง.การแทรกตัวขึ้นมาของแร่ธาตุจากแก่นโลกชั้นนอก

14.แผ่นดินของทวีปอเมริกากับทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกาแยกห่างกันมากขึ้นตลอดเวลา เพราะสาเหตุใด?
ก.แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่เนื่องจากการไหลของแมกมาในชั้นเนื้อโลก
ข.หินหนืดในชั้นเนื้อโลกดันแทรกขึ้นมาตามรอยแตกระหว่างเปลือกโลก
ค.เกิดการแทรกตัวของภูเขาไฟและแผ่นดินในบริเวณชั้นนี้บ่อยครั้ง
ง.ข้อ ก. และ ข. ถูก


 15.ผิวโลกในบริเวณต่างๆมีลักษณะเป็นอย่างไร?
ก.ที่ราบมีลักษณะเหมือนกัน
ข.ส่วนที่เป็นภูเขามีลักษณะเหมือนกัน
ค.มีความแตกต่างกันตามลักษณะภูมิประเทศ
ง.ส่วนที่เป็นพื้นน้ำจะมีอุณหภูมิปกติเหมือนกัน

16.เทือกเขาแอลป์ในทวีปยุโรป เกิดจากแผ่นธรณีใด?
ก.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร
ข.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป
ค.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีใต้มหาสมุทร
ง.แผ่นธรณีภาคพื้นทวีปกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป

17.สนามแม่เหล็กโบราณใช้เป็นหลักฐานเพื่อพิสูจน์อะไร?
ก.การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค
ข.การเคลื่อนที่ของธรณีภาค
ค.แม่เหล็กโลกปัจจุบัน
ง.ข้อ ก. และ ข. ถูก


 18.ปัจจุบันแผ่นเปลือกโลกที่รองรับทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา มีการเคลื่อนที่อย่างไร?
ก.เคลื่อนที่เข้าหากัน
ข.เคลื่อนที่แยกออกจากกัน
ค.เคลื่อนที่ในทิศที่แตกต่างกัน
ง.ยังไม่มีการเคลื่อนที่แต่อย่างไร

19.หินหนืดที่พ่นออกจากภูเขาไฟ เป็นสารที่มาจากชั้นใดของโลก?
ก.ชั้นเปลือกโลก                         ข.ชั้นแมนเทิล
ค.ชั้นแก่นโลก                             ง.ทุกชั้นรวมกัน

20.ชั้นใดของโลกที่มีความหนามากที่สุด?
ก.แก่นโลก                                  ข.แมนเทิล
ค.เปลือกโลก                               ง.ผิวโลก


เฉลย
1.ง  2.ข  3.ง  4.ข  5.ก  6.ก  7.ข  8.ข  9.ก  10.ง
11.ค  12.ง  13ข.  14.ง  15.ค  16ง  17.ง  18.ข  19.ข  20.ก


บทที่2 โลกและการเปลี่ยนแปลง

1.ภูเขาที่เป็นแนวยาว  มียอดแหลม  มักจะเกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกแบบใด
ก.folding                                   ข.faulting
ค.Volcanism                             ง.Aggradation

2.ภูเขาประเภทใดที่มีสาเหตุการเกิดแตกต่างจากภูเขาประเภทอื่น
ก.ภูเขาคดโค้ง                           ข.ภูเขาบล็อก
ค.ภูเขารูปโดม                           ง.ภูเขาที่เกิดจากภูเขาไฟ

3.Bat5holith  เป็นชื่อของอะไร
ก.ภูเขา                                         ข.หินอัคนีภายใน
ค.แมกมา                                      ง.ที่ราบสูง

4.หินเปลือกโลกที่เลื่อนตัวสูงขึ้น  เรียกว่าอะไร
ก.Anticline                             ข.Graben
ค.Horst                                 ง.Faulting

5.ภูเขาประเภทใดจัดเป็นภูเขาหินบะซอลต์
ก.ภูเขารูปบล็อก                                   ข.ภูเขาคดโค้ง
ค.ภูเขาที่เกิดจากภูเขาไฟ                     ง.ภูเขารูปโดม

6.ลักษณะในข้อใดพบมากในภูเขาหินปูน
ก.ถ้ำหินงอกหินย้อย                        ข.น้ำตก
ค.การพังทลายบ่อยครั้ง                   ง.การมีแร่ธาตุจำนวนมาก



7. จากการพบหินบะซอลต์ที่รอยแยกบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร แอตแลนติก อายุของหินอยู่บริเวณดังกล่าวเป็นอย่างไร ? 
ก. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุมากกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก
ข. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก
ค. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ในรอยแยก
ง. ข้อ ข และ ค ถูก

8. เทือกเขากลางมหาสมุทรเกิดขึ้นได้อย่างไร ? 
ก. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน
ข. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน
ค. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน
ง. ถูกทุกข้อ

9.สาเหตุที่ทำให้เกิดเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย คือ ข้อใด
ก.การเกิดรอยเลื่อนแบบปกติ
ข.การเกิดรอยเลื่อนแบบย้อน
ค.การเคลื่อนที่ชนกันของแผ่นเปลือกโลก
ง.การเคลื่อนที่แยกออกจากกันของ



 10.ภูเขาและเทือกเขาส่วนใหญ่มีลักษณะการเกิดแบบใด?
ก.การเกิดแผ่นดินไหว
ข.พลังงานจากภูเขาไฟ
ค.การโก่งตัวของเปลือกโลก
ง.การเลื่อนตัวของหินเปลือกโลก

11.เทือกเขาแอลป์ในทวีปยุโรป เกิดจากแผ่นธรณีภาคใด?
ก.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร
ข.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป
ค.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีใต้มหาสมุทร
ง.แผ่นธรณีภาคพื้นทวีปกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป

12.การเกิดเทือกเขาเกิดขึ้นได้อย่างไร
ก.การพัดพาของกระแสน้ำแล้วทำให้เกิดการทับถม
ข.แผ่นดินถล่ม
ค.แผ่นดินไหว
ง.การบิดโค้งงอของชั้นหิน

13.หลักฐานในข้อใดที่แสดงว่าภูเขานั้นๆเคยเป็นทะเลมาก่อน
ก.มีเปลือกหอยบนภูเขา
ข.มีหินชั้น
ค.มีซากดึกดำบรรพ์
ง.ทั้งข้อ ก ข และ ค




 14.วิธีการที่ทำให้เกิดเทือกเขา(Mountain Range) เรียกว่าอะไร
ก.Geology
ข.Grography
ค.Orogeny
ง.แผ่นดินถล่ม

15.ขบวนการเกิดภูเขาอาจเกิดจากสาเหตุใดบ้าง
ก.เกิดจากการบิดโค้งตัวของชั้นหิน
ข.เกิดจากรอยเลื่อนของชั้นหิน
ค.เกิดจาก Mud flow
ง.ถูกเฉพาะข้อ ก และ ข

16. ผืนแผ่นดินแผ่นเดียวกันบนโลกต่อมาแยกเป็นทวีปใหญ่ 2 ทวีป คือข้อใด ? 
ก.ยุโรปและอเมริกา
ข. เอเชียและยุโรป
ค. ลอเรเซียและกอนด์วานา
ง. ออสเตรเลียและอัฟริกา

17.  สิ่งใดที่ทำให้แผ่นธรณีภาคในแต่ละส่วนมีอัตราการเคลื่อนที่ไม่เท่ากัน ?
ก. การเคลื่อนตัวของแมกมาในชั้นเนื้อโลกไม่เท่ากัน
ข. ความร้อนของแมกมาในชั้นเนื้อโลก
ค. การเคลื่อนตัวของหินหนืดในชั้นแก่นโลก
ง. ถูกทุกข้อ


18. 300 - 200 ล้านปีที่แล้ว ทวีปต่างๆอยู่รวมกันเป็น
ก.ลอราเซีย
ข.แพนเจีย
ค.กอนด์วานาแลน
ง.ทีทีส

19.รอยต่อที่แยกแผ่นโลกออกจากกัน คือ
ก.รอยแตกที่แยกออกจากกัน
ข.รอยต่อที่ชนกัน
ค.รอยต่อแบบเฉือนกัน
ง.ถูกทุกข้อ

20. กลไกที่ทำให้เกิดกระบวนการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกเกิดจาก
ก.การหมุนของโลกและแรงดึงดูดของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ชักจูงให้เกิดกระบวนการของทวีปเลื่อน
ข.เพลตธรณีชั้นนอกถูกดึงดูดให้ขยายตัวจากจุดกลาง
ค.การพาความร้อนในแมนเทิล
ง.การแยกของแผ่นทวีป



เฉลย
1.ก  2.ง  3.ก  4.ค  5.ค  6.ก  7.ก  8.ค  9.ค  10.ค

11.ง  12.ง  13.ง  14.ค  15.ง  16.ค  17.ก  18.ข  19.ง  20.ค




แบบทดสอบบทที่ 3 เรื่อง ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา


1. หินหลอมละลายในชั้นเนื้อโลกเรียกว่าอะไร
1. ลาวา                                                                                    2. แมกมา
3. หินหนืด                                                                   4. หินใหม่

2. ข้อใดเรียงลำดับชั้นโลกจากผิดลกไปยังศูนย์กลางได้ถูกต้อง
1. เปลือกโลก แมนเทิล เนื้อโลก
2. เปลือกโลก เนื้อโลก แก่นโลก
3. เปลือกโลก เนื้อโลก แก่นโลก
4. เปลือกโลก แก่นโลกชั้นนอก แก่นโลกชั้นใน

3. ชั้นใดของโลกที่มีความแตกต่างของลักษณะทางกายภาพมากที่สุด
1. เนื้อโลก                                                                    2. เปลือกโลก
3. แก่นโลกชั้นนอก                                                      4. แก่นโลกชั้นใน

4. แก่นโลกหมายถึงข้อใด
1. ส่วนของโลกที่มีความแข็งมากที่สุด
2. ส่วนที่อยู่ชั้นในสุดของโลก
3. ส่วนที่อยู่ระหว่างชั้นเปลือกโลกกับชั้นแมนเทิล
4. ส่วนของโลกที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

5. แก่นโลกประกอบด้วยธาตุใดมากที่สุด
1. ธาตุเหล็ก และนิเกิล                                                             2. ธาตุเหล็กและซิลคอน
3. ธาตุซิลิคอน และอลูมิเนียม                                                 4. ธาตุซิลิคอน และแมกนีเซียม


6. ปัจจัยหนึ่งของโลกที่ทำให้เกิดปรากฎการณ์ธรรมชาติที่เรียกว่าแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดได้แก่
1. ปัจจัยทางด้านกายภาพ ส่วนประกอบทางเคมี
2. ปัจจัยโครงสร้าง ส่วนประกอบภายในของโลก
3. ปัจจัยทางด้านชีวภาพ ส่วนประกอบทางเคมี
4. ข้อ 1 และข้อ 2 ถูก

7. จุดกำเนิดการไหวสะเทือนของแผ่นดินไหวเรียกว่าอะไร
1. จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว                            2. ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
3. จุดกำเนิดของแผ่นเปลือกโลก                      4. จุดศูนย์กลางการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน

8. ศูนย์เกิดแผ่นดินไหวจะอยู่บริเวณใด
1. ใต้เนื้อโลก                                                    2. ใต้เปลือกโลก
3. แก่นในเนื้อโลก                                            4. แก่นโลกชั้นนอก

9. ตำแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวเรียกว่าอะไร
1. จุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว                    2. จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
3. จุดเหนือศูนย์กำเนิดแผ่นเปลือกโลก            4. จุดเหนือศูนย์การสั่นสะเทือนของแผ่นดิน

10. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว
1. แผ่นเปลือกโลกขยายตัวและหดตัวเท่ากัน   2. แผ่นเปลือกโลกทรุดตัวหรือยุบตัว
3. การเกิดภูเขาไฟระเบิดอย่างรุนแรง              4. การเคลื่อนที่ชนกันของแผ่นเปลือกโลก


 11. ปรากฏการณ์ใดเกิดขึ้น เมื่อเกิดแผ่นดินไหว
1. เปลือกโลกทรุดตัวลง
2. เปลือกโลกเกิดการกระทบกระแทกตามแนวระดับ
3. เปลือกโลกเกิดการกระทบกระแทกออกไปบริเวณรอบๆในรูปของคลื่น
4. ถูกหมดทุกข้อ

12. ไซสโมกราฟ (Seismograph ) คือข้อใด
1. เครื่องตรวจวัดความดังเสียง           2. เครื่องตรวจวัดความดันของร่างกาย
3. เครื่องตรวจวัดความเข้มแสง           4. เครื่องตรวจวัดคลื่นแผ่นดินไหว   

13. เครื่องมือไซสโมกราฟประกอบด้วย
1. เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน และเครื่องแปลงสัญญาณคลื่นไหวสะเทือน
2. เครื่องรับคลื่นสะเทือน และเครื่องถอดรหัสสัญญาณ
3. เครื่องรับสัญญาณไฟฟ้า และเครื่องแปลงสัญญาณไฟฟ้า
4. เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน และเครื่องแปลงสัญญาณเสียง

14. คลื่นไหวสะเทือนแบ่งได้กี่ชนิดอะไรบ้าง
1. 2 ชนิด 1. คลื่นพื้นผิว 2. คลื่นใต้ผิว
2. 2. ชนิด 1. คลื่นปฐมภูมิ 2. คลื่นทุติยภูมิ
3. 2 ชนิด คือ 1.คลื่นในตัวกลาง 2. คลื่นพื้นผิว
4. 2 ชนิด คือ 1. คลื่นพื้นผิว 2. คลื่นใต้มหาสมุทร


15. คลื่นที่เคลื่อนแผ่กระจายเป็นวงรอบๆศูนย์เกิดแผ่นดินไหว เรียกว่าอะไร
1. คลื่นพื้นผิว 2. คลื่นปฐมภูมิ
3. คลื่นทุติยภูมิ 4. คลื่นในตัวกลาง


 16. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง
1. ธาตุซิลิคอน และซิลิกา                               2. ธาตุซิลิคอน และอลูมิเนียม
3. ธาตุเหล็ก และทองแดง                               4. ธาตุซิลิคอน และแมกนีเซียม

17. เปลือกโลกใต้มหาสมุทร ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง
1. ธาตุซิลิคอน และแมกนีเซียม                        2. ธาตุซิลิคอน และซิลิกา
3. ธาตุซิลิคอน และอลูมิเนียม                                     4. ธาตุซิลิคอน และเหล็ก

18. ชั้นเนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลกรวมกันเรียกว่า อะไร
1. แมนเทิล                                                       2. ธรณีภาค
3. ธรณีภาคพื้นทวีป                                          4. ธรณีภาคพื้นเปลือกโลก

19. ความรุนแรงของแผ่นดินไหววัดด้วยมาตราใด
1. ริคเตอร์                                                         2. เมอร์คัลลี
3. ริชเชอร์                                                         4. แอมแปร์

20. แผ่นดินไหวระดับใดที่ทำให้ตัวอาคารพังเสียหาย และมีขนาดเท่าใด
1. ระดับ 11 ขนาด 8.0 – 8.9 ริคเตอร์
2. ระดับ 10 ขนาด 8.0 – 8.9 ริคเตอร์
3. ระดับ 9 ขนาด 7.0 – 7.9 ริคเตอร์
4. ระดับ 8 ขนาด 7.0 – 7.9 ริคเตอร์






เฉลย

1.           2       2.  2      3.  4      4.  2      5.  1      6.  4     7. 2     8.  1    9.  2      10.  1

11. 4       12. 4     13. 1     14. 3     15. 4     16. 2    17. 1   18. 2   19. 2     20.  1

ไม่มีความคิดเห็น: