แบบทดสอบดาราศาสตร์

แบบทดสอบดาราศาสตร์ บทที่ 1-3
บทที่1 โครงสร้างโลก

1.โครงสร้างโลกแบ่งตามลักษณะมวลสารได้ชั้นใหญ่ๆสามชั้นอะไรบ้าง?
ก.    ชั้นเปลือกโลก ใต้เปลือกโลก แก่นโลก
ข.     ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก ธรณีภาค
ค.    ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก หินหนืด
ง.      ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก แก่นโลก

2.เปลือกโลกภาคพื้นทวีป ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง?
    ก. ซิลิคอนและซิลิกา
    ข. ซิลิคอนและอะลูมินา
    ค.เหล็กและทองแดง
    ง. ซิลิคอนและแมกนีเซียม

3.เปลือกโลกแบ่งออกเป็น 2 บริเวณคือ?
    ก. เปลือกโลกภาคพื้นทวีปและเปลือกโลกภาคพื้นน้ำ
    ข.เปลือกโลกภาคพื้นดินและเปลือกโลกภาคพื้นน้ำ
   ค.เปลือกโลกชั้นนอกและเปลือกโลกชั้นใน
   ง.เปลือกโลกภาคพื้นทวีปและเปลือกโลกใต้มหาสมุทร

4.ชั้นเนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลกรวมกันเรียกว่าอะไร?
   ก. แมนเทิล              ข.ธรณีภาค
  ค.ธรณีภาคพื้นทวีป   ง.ธรณีภาคพื้นเปลือกโลก

5.เปลือกโลกใต้มหาสมุทรประกอบด้วยธาตุอะไรบ้าง?
ก.ซิลิคอนและแมกนีเซียม
ข.ซิลิคอนและซิลิกา
ค.ซิลิคอนและอะลูมินา
ง.ซิลิคอนและเหล็ก

6.จุดกำเนิดการไหวสะเทือนของแผ่นดินไหว เรียกว่าอะไร?
ก.จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว
ข.ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
ค.จุดกำเนิดของแผ่นดินไหว
ง.จุดศูนย์กลางการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน

7.ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว อยู่บริเวณใด?
ก.ใต้เนื้อโลก               ข.ใต้เปลือกโลก
ค.แก่นโลกชั้นใน          ง.แก่นโลกชั้นนอก

8.ตำแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว เรียกว่าอะไร?
ก.จุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว
ข.จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
ค.จุดเหนือศูนย์กำเนิดแผ่นเปลือกโลก
ง.จุดเหนือศูนย์การสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว

9.ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว?
ก.แผ่นดินเปลือกโลกขยายตัวและหดตัวเท่ากัน
ข.แผ่นเปลือกโลกทรุดตัวหรือยุบตัว
ค.การเกิดภูเขาไฟระเบิดอย่างรุนแรง
ง.การเคลื่อนที่ชนกันของแผ่นเปลือกโลก

10.ปรากฏการณ์ใดเกิดขึ้นเมื่อเกิดแผ่นดินไหว?
ก.เปลือกโลกทรุดตัว
ข.เปลือกโลกเกิดการกระแทกตามแนวระดับ
ค.เปลือกโลกเกิดกระทบกระแทกออกไปบริเวณรอบๆในรูปของคลื่น
ง.ถูกทุกข้อ

11.ทฤษฎีที่ใช้อธิบายถึงกำเนิดของแผ่นดินมหาสมุทรและสิ่งมีชีวิตที่ตายทับถม
อยู่ในหินบนเปลือกโลกคือทฤษฎีใด?
ก.ทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีป
ข.ทฤษฎีการขยายตัวของพื้นทวีป
ค.ทฤษฎีแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค
ง.ผิดทุกข้อ


12.หลักฐานที่นักธรณีวิทยาและนักวิทยาศาสตร์ เชื่อว่าโลกของเรามีกระบวนการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาคือ?
ก.การปรากฏรอยแตกของเปลือกโลก
ข.การเกิดแผ่นดินไหว
ค.การเกิดภูเขาและภูเขาไฟ
ง.ถูกทุกข้อ

13.สาเหตุที่ทำให้เปลือกโลกเคลื่อนที่คือข้อใด?
ก.การประทุของหินแข็งในชั้นเปลือกโลก
ข.การไหลของหินหนืดในชั้นเนื้อโลก
ค.การเคลื่อนที่ของแร่ธาตุในแก่นโลกชั้นใน
ง.การแทรกตัวขึ้นมาของแร่ธาตุจากแก่นโลกชั้นนอก

14.แผ่นดินของทวีปอเมริกากับทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกาแยกห่างกันมากขึ้นตลอดเวลา เพราะสาเหตุใด?
ก.แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่เนื่องจากการไหลของแมกมาในชั้นเนื้อโลก
ข.หินหนืดในชั้นเนื้อโลกดันแทรกขึ้นมาตามรอยแตกระหว่างเปลือกโลก
ค.เกิดการแทรกตัวของภูเขาไฟและแผ่นดินในบริเวณชั้นนี้บ่อยครั้ง
ง.ข้อ ก. และ ข. ถูก


 15.ผิวโลกในบริเวณต่างๆมีลักษณะเป็นอย่างไร?
ก.ที่ราบมีลักษณะเหมือนกัน
ข.ส่วนที่เป็นภูเขามีลักษณะเหมือนกัน
ค.มีความแตกต่างกันตามลักษณะภูมิประเทศ
ง.ส่วนที่เป็นพื้นน้ำจะมีอุณหภูมิปกติเหมือนกัน

16.เทือกเขาแอลป์ในทวีปยุโรป เกิดจากแผ่นธรณีใด?
ก.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร
ข.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป
ค.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีใต้มหาสมุทร
ง.แผ่นธรณีภาคพื้นทวีปกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป

17.สนามแม่เหล็กโบราณใช้เป็นหลักฐานเพื่อพิสูจน์อะไร?
ก.การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค
ข.การเคลื่อนที่ของธรณีภาค
ค.แม่เหล็กโลกปัจจุบัน
ง.ข้อ ก. และ ข. ถูก


 18.ปัจจุบันแผ่นเปลือกโลกที่รองรับทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา มีการเคลื่อนที่อย่างไร?
ก.เคลื่อนที่เข้าหากัน
ข.เคลื่อนที่แยกออกจากกัน
ค.เคลื่อนที่ในทิศที่แตกต่างกัน
ง.ยังไม่มีการเคลื่อนที่แต่อย่างไร

19.หินหนืดที่พ่นออกจากภูเขาไฟ เป็นสารที่มาจากชั้นใดของโลก?
ก.ชั้นเปลือกโลก                         ข.ชั้นแมนเทิล
ค.ชั้นแก่นโลก                             ง.ทุกชั้นรวมกัน

20.ชั้นใดของโลกที่มีความหนามากที่สุด?
ก.แก่นโลก                                  ข.แมนเทิล
ค.เปลือกโลก                               ง.ผิวโลก


เฉลย
1.ง  2.ข  3.ง  4.ข  5.ก  6.ก  7.ข  8.ข  9.ก  10.ง
11.ค  12.ง  13ข.  14.ง  15.ค  16ง  17.ง  18.ข  19.ข  20.ก


บทที่2 โลกและการเปลี่ยนแปลง

1.ภูเขาที่เป็นแนวยาว  มียอดแหลม  มักจะเกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกแบบใด
ก.folding                                   ข.faulting
ค.Volcanism                             ง.Aggradation

2.ภูเขาประเภทใดที่มีสาเหตุการเกิดแตกต่างจากภูเขาประเภทอื่น
ก.ภูเขาคดโค้ง                           ข.ภูเขาบล็อก
ค.ภูเขารูปโดม                           ง.ภูเขาที่เกิดจากภูเขาไฟ

3.Bat5holith  เป็นชื่อของอะไร
ก.ภูเขา                                         ข.หินอัคนีภายใน
ค.แมกมา                                      ง.ที่ราบสูง

4.หินเปลือกโลกที่เลื่อนตัวสูงขึ้น  เรียกว่าอะไร
ก.Anticline                             ข.Graben
ค.Horst                                 ง.Faulting

5.ภูเขาประเภทใดจัดเป็นภูเขาหินบะซอลต์
ก.ภูเขารูปบล็อก                                   ข.ภูเขาคดโค้ง
ค.ภูเขาที่เกิดจากภูเขาไฟ                     ง.ภูเขารูปโดม

6.ลักษณะในข้อใดพบมากในภูเขาหินปูน
ก.ถ้ำหินงอกหินย้อย                        ข.น้ำตก
ค.การพังทลายบ่อยครั้ง                   ง.การมีแร่ธาตุจำนวนมาก



7. จากการพบหินบะซอลต์ที่รอยแยกบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร แอตแลนติก อายุของหินอยู่บริเวณดังกล่าวเป็นอย่างไร ? 
ก. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุมากกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก
ข. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก
ค. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ในรอยแยก
ง. ข้อ ข และ ค ถูก

8. เทือกเขากลางมหาสมุทรเกิดขึ้นได้อย่างไร ? 
ก. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน
ข. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน
ค. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน
ง. ถูกทุกข้อ

9.สาเหตุที่ทำให้เกิดเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย คือ ข้อใด
ก.การเกิดรอยเลื่อนแบบปกติ
ข.การเกิดรอยเลื่อนแบบย้อน
ค.การเคลื่อนที่ชนกันของแผ่นเปลือกโลก
ง.การเคลื่อนที่แยกออกจากกันของ



 10.ภูเขาและเทือกเขาส่วนใหญ่มีลักษณะการเกิดแบบใด?
ก.การเกิดแผ่นดินไหว
ข.พลังงานจากภูเขาไฟ
ค.การโก่งตัวของเปลือกโลก
ง.การเลื่อนตัวของหินเปลือกโลก

11.เทือกเขาแอลป์ในทวีปยุโรป เกิดจากแผ่นธรณีภาคใด?
ก.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร
ข.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป
ค.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีใต้มหาสมุทร
ง.แผ่นธรณีภาคพื้นทวีปกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป

12.การเกิดเทือกเขาเกิดขึ้นได้อย่างไร
ก.การพัดพาของกระแสน้ำแล้วทำให้เกิดการทับถม
ข.แผ่นดินถล่ม
ค.แผ่นดินไหว
ง.การบิดโค้งงอของชั้นหิน

13.หลักฐานในข้อใดที่แสดงว่าภูเขานั้นๆเคยเป็นทะเลมาก่อน
ก.มีเปลือกหอยบนภูเขา
ข.มีหินชั้น
ค.มีซากดึกดำบรรพ์
ง.ทั้งข้อ ก ข และ ค




 14.วิธีการที่ทำให้เกิดเทือกเขา(Mountain Range) เรียกว่าอะไร
ก.Geology
ข.Grography
ค.Orogeny
ง.แผ่นดินถล่ม

15.ขบวนการเกิดภูเขาอาจเกิดจากสาเหตุใดบ้าง
ก.เกิดจากการบิดโค้งตัวของชั้นหิน
ข.เกิดจากรอยเลื่อนของชั้นหิน
ค.เกิดจาก Mud flow
ง.ถูกเฉพาะข้อ ก และ ข

16. ผืนแผ่นดินแผ่นเดียวกันบนโลกต่อมาแยกเป็นทวีปใหญ่ 2 ทวีป คือข้อใด ? 
ก.ยุโรปและอเมริกา
ข. เอเชียและยุโรป
ค. ลอเรเซียและกอนด์วานา
ง. ออสเตรเลียและอัฟริกา

17.  สิ่งใดที่ทำให้แผ่นธรณีภาคในแต่ละส่วนมีอัตราการเคลื่อนที่ไม่เท่ากัน ?
ก. การเคลื่อนตัวของแมกมาในชั้นเนื้อโลกไม่เท่ากัน
ข. ความร้อนของแมกมาในชั้นเนื้อโลก
ค. การเคลื่อนตัวของหินหนืดในชั้นแก่นโลก
ง. ถูกทุกข้อ


18. 300 - 200 ล้านปีที่แล้ว ทวีปต่างๆอยู่รวมกันเป็น
ก.ลอราเซีย
ข.แพนเจีย
ค.กอนด์วานาแลน
ง.ทีทีส

19.รอยต่อที่แยกแผ่นโลกออกจากกัน คือ
ก.รอยแตกที่แยกออกจากกัน
ข.รอยต่อที่ชนกัน
ค.รอยต่อแบบเฉือนกัน
ง.ถูกทุกข้อ

20. กลไกที่ทำให้เกิดกระบวนการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกเกิดจาก
ก.การหมุนของโลกและแรงดึงดูดของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ชักจูงให้เกิดกระบวนการของทวีปเลื่อน
ข.เพลตธรณีชั้นนอกถูกดึงดูดให้ขยายตัวจากจุดกลาง
ค.การพาความร้อนในแมนเทิล
ง.การแยกของแผ่นทวีป



เฉลย
1.ก  2.ง  3.ก  4.ค  5.ค  6.ก  7.ก  8.ค  9.ค  10.ค

11.ง  12.ง  13.ง  14.ค  15.ง  16.ค  17.ก  18.ข  19.ง  20.ค




แบบทดสอบบทที่ 3 เรื่อง ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา


1. หินหลอมละลายในชั้นเนื้อโลกเรียกว่าอะไร
1. ลาวา                                                                                    2. แมกมา
3. หินหนืด                                                                   4. หินใหม่

2. ข้อใดเรียงลำดับชั้นโลกจากผิดลกไปยังศูนย์กลางได้ถูกต้อง
1. เปลือกโลก แมนเทิล เนื้อโลก
2. เปลือกโลก เนื้อโลก แก่นโลก
3. เปลือกโลก เนื้อโลก แก่นโลก
4. เปลือกโลก แก่นโลกชั้นนอก แก่นโลกชั้นใน

3. ชั้นใดของโลกที่มีความแตกต่างของลักษณะทางกายภาพมากที่สุด
1. เนื้อโลก                                                                    2. เปลือกโลก
3. แก่นโลกชั้นนอก                                                      4. แก่นโลกชั้นใน

4. แก่นโลกหมายถึงข้อใด
1. ส่วนของโลกที่มีความแข็งมากที่สุด
2. ส่วนที่อยู่ชั้นในสุดของโลก
3. ส่วนที่อยู่ระหว่างชั้นเปลือกโลกกับชั้นแมนเทิล
4. ส่วนของโลกที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

5. แก่นโลกประกอบด้วยธาตุใดมากที่สุด
1. ธาตุเหล็ก และนิเกิล                                                             2. ธาตุเหล็กและซิลคอน
3. ธาตุซิลิคอน และอลูมิเนียม                                                 4. ธาตุซิลิคอน และแมกนีเซียม


6. ปัจจัยหนึ่งของโลกที่ทำให้เกิดปรากฎการณ์ธรรมชาติที่เรียกว่าแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดได้แก่
1. ปัจจัยทางด้านกายภาพ ส่วนประกอบทางเคมี
2. ปัจจัยโครงสร้าง ส่วนประกอบภายในของโลก
3. ปัจจัยทางด้านชีวภาพ ส่วนประกอบทางเคมี
4. ข้อ 1 และข้อ 2 ถูก

7. จุดกำเนิดการไหวสะเทือนของแผ่นดินไหวเรียกว่าอะไร
1. จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว                            2. ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
3. จุดกำเนิดของแผ่นเปลือกโลก                      4. จุดศูนย์กลางการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน

8. ศูนย์เกิดแผ่นดินไหวจะอยู่บริเวณใด
1. ใต้เนื้อโลก                                                    2. ใต้เปลือกโลก
3. แก่นในเนื้อโลก                                            4. แก่นโลกชั้นนอก

9. ตำแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวเรียกว่าอะไร
1. จุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว                    2. จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
3. จุดเหนือศูนย์กำเนิดแผ่นเปลือกโลก            4. จุดเหนือศูนย์การสั่นสะเทือนของแผ่นดิน

10. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว
1. แผ่นเปลือกโลกขยายตัวและหดตัวเท่ากัน   2. แผ่นเปลือกโลกทรุดตัวหรือยุบตัว
3. การเกิดภูเขาไฟระเบิดอย่างรุนแรง              4. การเคลื่อนที่ชนกันของแผ่นเปลือกโลก


 11. ปรากฏการณ์ใดเกิดขึ้น เมื่อเกิดแผ่นดินไหว
1. เปลือกโลกทรุดตัวลง
2. เปลือกโลกเกิดการกระทบกระแทกตามแนวระดับ
3. เปลือกโลกเกิดการกระทบกระแทกออกไปบริเวณรอบๆในรูปของคลื่น
4. ถูกหมดทุกข้อ

12. ไซสโมกราฟ (Seismograph ) คือข้อใด
1. เครื่องตรวจวัดความดังเสียง           2. เครื่องตรวจวัดความดันของร่างกาย
3. เครื่องตรวจวัดความเข้มแสง           4. เครื่องตรวจวัดคลื่นแผ่นดินไหว   

13. เครื่องมือไซสโมกราฟประกอบด้วย
1. เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน และเครื่องแปลงสัญญาณคลื่นไหวสะเทือน
2. เครื่องรับคลื่นสะเทือน และเครื่องถอดรหัสสัญญาณ
3. เครื่องรับสัญญาณไฟฟ้า และเครื่องแปลงสัญญาณไฟฟ้า
4. เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน และเครื่องแปลงสัญญาณเสียง

14. คลื่นไหวสะเทือนแบ่งได้กี่ชนิดอะไรบ้าง
1. 2 ชนิด 1. คลื่นพื้นผิว 2. คลื่นใต้ผิว
2. 2. ชนิด 1. คลื่นปฐมภูมิ 2. คลื่นทุติยภูมิ
3. 2 ชนิด คือ 1.คลื่นในตัวกลาง 2. คลื่นพื้นผิว
4. 2 ชนิด คือ 1. คลื่นพื้นผิว 2. คลื่นใต้มหาสมุทร


15. คลื่นที่เคลื่อนแผ่กระจายเป็นวงรอบๆศูนย์เกิดแผ่นดินไหว เรียกว่าอะไร
1. คลื่นพื้นผิว 2. คลื่นปฐมภูมิ
3. คลื่นทุติยภูมิ 4. คลื่นในตัวกลาง


 16. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง
1. ธาตุซิลิคอน และซิลิกา                               2. ธาตุซิลิคอน และอลูมิเนียม
3. ธาตุเหล็ก และทองแดง                               4. ธาตุซิลิคอน และแมกนีเซียม

17. เปลือกโลกใต้มหาสมุทร ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง
1. ธาตุซิลิคอน และแมกนีเซียม                        2. ธาตุซิลิคอน และซิลิกา
3. ธาตุซิลิคอน และอลูมิเนียม                                     4. ธาตุซิลิคอน และเหล็ก

18. ชั้นเนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลกรวมกันเรียกว่า อะไร
1. แมนเทิล                                                       2. ธรณีภาค
3. ธรณีภาคพื้นทวีป                                          4. ธรณีภาคพื้นเปลือกโลก

19. ความรุนแรงของแผ่นดินไหววัดด้วยมาตราใด
1. ริคเตอร์                                                         2. เมอร์คัลลี
3. ริชเชอร์                                                         4. แอมแปร์

20. แผ่นดินไหวระดับใดที่ทำให้ตัวอาคารพังเสียหาย และมีขนาดเท่าใด
1. ระดับ 11 ขนาด 8.0 – 8.9 ริคเตอร์
2. ระดับ 10 ขนาด 8.0 – 8.9 ริคเตอร์
3. ระดับ 9 ขนาด 7.0 – 7.9 ริคเตอร์
4. ระดับ 8 ขนาด 7.0 – 7.9 ริคเตอร์






เฉลย

1.           2       2.  2      3.  4      4.  2      5.  1      6.  4     7. 2     8.  1    9.  2      10.  1

11. 4       12. 4     13. 1     14. 3     15. 4     16. 2    17. 1   18. 2   19. 2     20.  1

แบบทดสอบโครงสร้างอะตอม


1.  อะตอมประกอบไปด้วยโปรตอนและอิเล็กตรอนในจำนวนที่เท่า ๆ กัน คือ แบบจำลองอะตอมของใคร
     ก.  ดอลตัน
     ข.  ทอมสัน
     ค.  รัทเทอร์ฟอร์ด
     ง.  โบร์
2.  ข้อใดกล่าวถูกต้อง
     ก.  ธาตุต่างชนิดกันมีมวลต่างกันหรือมีนิวตรอนต่างกันเรียกว่าไอโซโทป
     ข.  มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับอิเล็กตรอนในนิวเคลียส
     ค.  มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับนิวตรอนในนิวเคลียส
     ง.  เลขอะตอมจะบอกถึงจำนวนโปรตอนและจำนวนนิวตรอนในอะตอม
3.  อนุภาคข้อใดที่มีมวลใกล้เคียงกัน
               ก.  โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน
                ข.  โปรตอนกับอิเล็กตรอน
                ค.  นิวครอนกับอิเล็กตรอน
                ง.  โปรตอนกับนิวตรอน
4.  ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
                ก.  โปรตอนและอิเล็กตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียสของอะตอม
                ข.  นิวเคลียสมีขนาดเล็กมากและมีมวลมาก ภายในประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน
                ค.  นิวเคลียสเป็นกลางทางไฟฟ้าเพราะประจุของโปรตอนกับของอิเล็กตรอนเท่ากัน
                ง.   อะตอมของธาตุประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอนกระจัดกระจายอยู่ภายในด้วยจำนวนเท่ากัน
5.  เลขอะตอมของธาตุ คือข้อใด
                ก.  จำนวนอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ
                ข.  จำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ
                ค.  จำนวนนิวครอนในอะตอมของธาตุ
                ง.  จำนวนโปรตอนกับนิวตรอนในอะตอมของธาตุ




6.  ธาตุ P มีเลขอะตอม 15 มีนิวตรอน 16 จะมีเลขมวล โปรตอน และอิเล็กตรอนเท่าไรตามลำดับ
                ก.  31,  15,  15
                ข.  31,  16,  15
                ค.  16,  15,  15
                ง.  15,  31,  16
7.  ข้อใดอธิบายความหมายไอโซโทปของธาตุได้ถูกต้อง
                ก.  ธาตุชนิดเดียวกัน เลขมวลเหมือนกันแต่เลขอะตอมต่างกัน
                ข.  ธาตุชนิดเดียวกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน
                ค.  ธาตุต่างชนิดกันมีเลขอะตอมเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน
                ง.  ธาตุต่างชนิดกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน
8.  ธาตุโซเดียม (Na) มีเลขอะตอมเท่ากับ 11 จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนดังข้อใด
                ก.  2, 9
                ข.  2,  8,  1
                ค.  2,  6,  5
                ง.  1,  8,  2 
9.  ข้อใดบอกความหมายของเลขมวลได้ถูกต้อง
                ก.  จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม
                ข.  มวลรวมของนิวตรอนโปรตอน และอิเล็กตรอนในอะตอม
                ค.  มวลรวมของนิวตรอนและโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม
                ง.  มวลรวมของโปรตอน และอิเล็กตรอนในนิวเคลียสของอะตอม
10.  ธาตุคลอรีน (CI) มีเลขอะตอม 17 จะอยู่ในคาบและหมู่ละที่เท่าไรของตารางธาตุ
               ก.  คาบ 3 หมู่ 7
              ข.  คาบ 7 หมู่ 3
              ค.  คาบ 2 หมู่ 7
              ง.  คาบ 3 หมู่ 8
11.  แบบจำลองอะตอมของดอลตันเป็นอย่างไร
ก.       ทรงกลมตัน
ข.      ทรงกลงกลวง
ค.      ทรงกลมมีช่องตรงกลาง
ง.     ทรงกลมผิวขรุขระ




12. ทฤษฎีอะตอมดอลตันข้อใดถูกต้องตามหลักทฤษฎี
ก.  สารประกอบขึ้นด้วยอนุภาคที่สร้างขึ้น หรือทำลายไม่ได้
ข.  สารประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กที่แบ่งแยกได้
ค.  สารประกอบขึ้นด้วยอนุภาคขนาดเล็กที่ยังไม่มีชื่อเรียก
ง. สารประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กที่แบ่งแยกไม่ได
13. แบบจำลองอะตอมของ Dalton ได้มาได้อย่างไร
ก. การทดลอง 
ข. การใช้หลักตรรกศาสตร์ 
ค. การทำแบบสอบถามนักวิทยาศาสตร์อื่น ๆ
ง.  การเสนอความคิด
14.  ทอมสันใช้วิธีใดที่จะทำให้ทราบประจุของรังสีแคโทด
ก.  เพิ่มความดัน ก๊าซ
ข.  ใช้สนามแม่เหล็ก
ค.  ลดความต่างศักย์
ง.  ใส่สนามไฟฟ้า         
15. ประจุต่อมวลของ  e
ก. 1.76 x 10x8  คูลอมบ์/กรัม 
ข. 1.6 x 10-19  คูลอมบ์/กรัม 
ค. 9.1 x 10-28  คูลอมบ์/กรัม
ง.  6.02 x 10-23  คูลอมบ์/กรัม
16. โกลโสตน์ ทำอะไรที่เป็นการทดลองขั้นต่อจากทอมสัน
ก.  เจาะรูที่ แคโทด
ข.  เจาะรูที่ แอโนด
ค.  เจาะรูที่ แคโทดและ แอโนด
ง. หาค่าประจุของ e ด้วยวิธี oil drop experiment (เม็ดน้ำมัน)
17. รัทเทอร์ฟอร์ด ยิงสิ่งใดใส่แผ่นโลหะบางๆ
ก.  รังสีแกมมา
ข.  42He
ค.  รังสีเอ็กซ์
 42He2+   


18.  สิ่งที่ยิงใส่แผ่นโลหะบาง ๆ เดินทางอย่างไร เรียงลำดับจากโอกาสมากไปยังโอกาสน้อย
ก.  ไม่เบี่ยงเบน     เบี่ยงเบน         สะท้อนกลับ
ข.  สะท้อนกลับ    เบี่ยงเบน         ไม่เบี่ยงเบน
ค.  ไม่เบี่ยงเบน     สะท้อนกลับ     เบี่ยงเบน
ง.  เบี่ยงเบน        ไม่เบี่ยงเบน      สะท้อนกลับ  
19. สิ่งใดทำให้อะตอมมีขนาดใหญ่ และมีมวลมากตามลำดับ
ก. อิเล็กตรอน              พื้นที่ตัน
ข. พื้นที่ว่าง                 โปรตอน
ค. โปรตอน                  อิเล็กตรอน
ง.  อิเล็กตรอน             โปรตอน
20. สิ่งใดที่ทำให้ เจ เจ ทอมสัน สรุปว่าอะตอม ซึ่งเดิมเข้าใจว่าแบ่งแยกไม่ได้นั้นความจริงสามารถแบ่งย่อยได้อีก
ก. หาค่าประจุต่อมวลได้  คูลอมบ์ต่อกิโลกรัม
ข. ขั้วไฟฟ้าลบทุกชนิด สามารถให้อิเล็กตรอนได้ทั้งสิ้น
ค. รังสีแคโทดออกจากขั้วไฟฟ้าลบ
ง. มวลไอออนของไฮโดรเจนมากกว่ามวลอิเล็กตรอน ประมาณ 1,800 เท่า
21. การทดลองของทอมสันเกี่ยวกับรังสีแคโทดเพื่อหาอัตราส่วนประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนนั้น ข้อใดที่ไม่ใช่ผลสรุปจากการทดลองนี้
ก. ขั้วไฟฟ้าลบที่เป็นโลหะทุกชนิดสามารถให้อิเล็กตรอนได้ทั้งนั้น
ข. อะตอมซึ่งเข้าใจกันแต่เดิมว่าแบ่งแยกไม่ได้นั้นที่จริงแบ่งย่อยลงไปอีกได้
ค. อิเล็กตรอนเป็นส่วนประกอบสำคัญอันหนึ่งของอะตอม
ง. อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียส มีอิเล็กตรอนวนอยู่รอบ
22. รังสีแคโทด
ก. มีอำนาจทะลุทะลวงสูง ข. เกิดจากการแตกตัวของแก๊ส
ค. ไม่มีประจุ ไม่มีมวล                      ง. เบี่ยงเบนได้ด้วยอำนาจของแม่เหล็ก

23. มวลของอนุภาครังสีแคโทด
ก. มากกว่าไฮโดรเจน                         ข. เท่ากับไฮโดรเจน
ค. น้อยกว่าไฮโดรเจนมาก                ง. ไม่มีมวล

24. การค้นพบอิเล็กตรอนของทอมสัน ทำลายแนวความคิดเดิมด้านไหนไป
ก. อะตอมเป็นหน่วยย่อยของสารที่ไม่สามารถแบ่งต่อไปอีกได้
ข. สารต่างๆ ในโลกประกอบด้วยธาตุเหล็กทั้ง 4 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ
ค. อะตอมของธาตุทุกชนิดเหมือนกัน สารแตกต่างกันเพราะการจัดเรียงตัวต่างกัน
ง. การเรียงตัวกันของอะตอมทำให้เกิดช่องว่างระหว่างอะตอมที่เรียกว่าวอยด์ (Void)
25. รังสีแคโทดมีประจุไฟฟ้าเป็น
ก. ลบ                                     ข. บวก                                   ค. กลาง                                 ง. ไม่มีประจุ
26. ความเร็วของอิเล็กตรอนระหว่างขั้วไฟฟ้าของหลอดไดโอดขึ้นอยู่กับ
ก. ระยะห่างของขั้วหลอด                                 ข. ความต่างศักย์ระหว่างขั้วหลอด
ค. ธรรมชาติของขั้วหลอด                 ง. กระแสระหว่างขั้วหลอด

27. ในการทดลองของมิลลิแกน ประจุไฟฟ้าของหยดน้ำมันจะเป็นอย่างไร
ก. มีค่าคงที่เท่ากันหมดทุกหยด
ข. มีค่าไม่แน่นอน จะเป็นเท่าใดก็ได้
ค. มีค่าไม่แน่นอน แต่จะต้องเป็นจำนวนเต็มเท่าของตัวเลขค่าหนึ่งเสมอ
ง. เป็นเลขจำนวนเฉพาะที่ไม่สามรถแยกตัวประกอบได้

28. จากการทดลองหยดน้ำมัน ทำให้มิลลิแกนทราบ
ก. ประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอน                         ข. มวลของอิเล็กตรอน
ค. ประจุต่อมวลของอิเล็กตรอน                       ง. ข้อ ก และ ข ถูก

29. ในการทดลองวัดประจุไฟฟ้าบนหยดน้ำมันจะพบว่าหยดน้ำมันส่วนใหญ่มีประจุไฟฟ้าชนิดใด
ก. บวก                                                   ข. ลบ                    
ค. ไม่แน่ว่าบวกหรือลบ                     ง. จะเป็นประจุชนิดใดขึ้นอยู่น้ำมันที่ใช้ทดลอง

30. การจัดสนามไฟฟ้าในการทดลองของมิลลิแกน จะต้องจัดให้สนามไฟฟ้าอยู่ในแนวใด
ก. แนวดิ่งขึ้น                                       ข. แนวดิ่งลง
ค. แนวระดับไปทางขวา                    ง. ข้อ ก และ ข ถูก
31. การทดลองโดยใช้หยดน้ำมันของมิลลิแกนประจุที่วัดได้คือ
1. ประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว
2. ประจุของหยดน้ำมัน 1 หยด
3. ประจุของอิเล็กตรอนอิสระทั้งหมดบนหยดน้ำมัน
ข้อใดถูก
ก. ข้อ 1 ถูก                           ข. ข้อ 2 ถูก                           ค. ข้อ 3 ถูก                           ง. ข้อ 2,3 ถูก
32. หยดน้ำมันมวล m เคลื่อนที่ลงด้วยความเร็ว ในสนามไฟฟ้า ซึ่งเกิดจากแผ่นโลหะขนาน มีความต่างศักย์ V มีระยะห่างกัน d ประจุบนหยดน้ำมันมีค่าเท่าใด ให้ g เป็นความเร่งเนื่องจากสนามโน้มถ่วง
ก.                               ข.                                ค.                               ง.
33. พลังงาน 1 eV มีค่ากี่จูล
ก.  จูล              ข.  จูล              ค.  จูล              ง.  จูล


34. พลังงานของอิเล็กตรอนที่เกิดจากแสงตกกระทบผิวโลหะขึ้นอยู่กับ
ก. ความเร็วของแสง           ข. ความเข้มของแสง          ค. ความถี่ของแสง              ง. ความยาวคลื่น

35. จำนวนอิเล็กตรอนที่หลุดจากผิว หรือค่ากระแสไฟฟ้าที่ได้จะมีค่าขึ้นอยู่กับ
ก. ความเข้มของแสง          ข. ความเร็วของแสง           ค. ความถี่แสง      ง. ความยาวคลื่น

36. ข้อใด เป็นปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
ก. เมื่อแสงความยาวคลื่นสั้น กระทบผิวโลหะ ทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกมา
ข. เมื่อแสงที่มีความยาวคลื่นยาว กระทบผิวโลหะทำให้เกิดความร้อน
ค. เมื่อแสงกระทบผิวโลหะ จะดูดกลืนรังสีความร้อน
ง. เมื่อแสงความยาวคลื่นสั้น กระทบผิวโลหะ จะเกิดการสะท้อน

37. ชื่อที่ใช้เรียกกลุ่มก้อนของแสง และสูตรพลังงานของกลุ่มแสงดังกล่าวคือ
ก. ควานตา ,                                 ข. ควานตัม ,               ค. โฟตอน ,                  ง. โตโต ,

38. ความถี่ขีดเริ่ม คือค่าความถี่ที่ทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากผิวโลหะได้พอดี ความถี่นั้นเป็น
ก. ความถี่ที่มีค่ามากที่สุด                                   ข. ความถี่ที่น้อยที่สุด
ค. ความถี่ที่ตาเริ่มมองเห็น                                ง. ความถี่ที่ให้ความยาวคลื่นสั้นที่สุด

39. จากการศึกษาปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก สรุปได้ว่า
ก. เมื่อแสงมีความถี่เท่ากับความถี่ขีดเริ่ม ตกกระทบผิวโลหะจะไม่มีอิเล็กตรอนหลุดจากผิวโลหะ
ค. แสงที่มีความถี่ค่าเดียวตกกระทบผิวโลหะต่างชนิดกัน จะให้โฟโตอิเล็กตรอนที่มีพลังงานจลน์สูงสุดเท่ากัน
ค. เมื่อเพิ่มความเข้มแสงที่ตกกระทบผิวโลหะ กระแสโฟโตอิเล็กตรอนจะมีค่าเพิ่มขึ้น
ง. เมื่อเพิ่มความเข้มแสงที่ตกกระทบผิวโลหะ จำนวนโฟโตอิเล็กตรอนจะเท่าเดิมแต่มีพลังงานสูงขึ้น


ข้อสอบ เรื่อง โครงสร้างอะตอม

ข้อสอบ เรื่อง โครงสร้างอะตอม

ข้อสอบ เรื่อง โครงสร้างอะตอม


1.  อะตอมประกอบไปด้วยโปรตอนและอิเล็กตรอนในจำนวนที่เท่า ๆ กัน คือ แบบจำลองอะตอมของใคร
     ก.  ดอลตัน
     ข.  ทอมสัน
     ค.  รัทเทอร์ฟอร์ด
     ง.  โบร์

2.  ข้อใดกล่าวถูกต้อง
     ก.  ธาตุต่างชนิดกันมีมวลต่างกันหรือมีนิวตรอนต่างกันเรียกว่าไอโซโทป
     ข.  มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับอิเล็กตรอนในนิวเคลียส
     ค.  มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับนิวตรอนในนิวเคลียส
     ง.  เลขอะตอมจะบอกถึงจำนวนโปรตอนและจำนวนนิวตรอนในอะตอม

3.  อนุภาคข้อใดที่มีมวลใกล้เคียงกัน
             ก.  โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน
            ข.  โปรตอนกับอิเล็กตรอน
            ค.  นิวครอนกับอิเล็กตรอน
            ง.  โปรตอนกับนิวตรอน

4.  ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
            ก.  โปรตอนและอิเล็กตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียสของอะตอม
            ข.  นิวเคลียสมีขนาดเล็กมากและมีมวลมาก ภายในประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน
            ค.  นิวเคลียสเป็นกลางทางไฟฟ้าเพราะประจุของโปรตอนกับของอิเล็กตรอนเท่ากัน
            ง.   อะตอมของธาตุประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอนกระจัดกระจายอยู่ภายในด้วยจำนวนเท่ากัน

5.  เลขอะตอมของธาตุ คือข้อใด
            ก.  จำนวนอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ
            ข.  จำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ
            ค.  จำนวนนิวครอนในอะตอมของธาตุ
            ง.  จำนวนโปรตอนกับนิวตรอนในอะตอมของธาตุ

6.  ธาตุ มีเลขอะตอม 15 มีนิวตรอน 16 จะมีเลขมวล โปรตอน และอิเล็กตรอนเท่าไรตามลำดับ
            ก.  31,  15,  15
            ข.  31,  16,  15
            ค.  16,  15,  15
            ง.  15,  31,  16

 7.  ข้อใดอธิบายความหมายไอโซโทปของธาตุได้ถูกต้อง
            ก.  ธาตุชนิดเดียวกัน เลขมวลเหมือนกันแต่เลขอะตอมต่างกัน
            ข.  ธาตุชนิดเดียวกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน
            ค.  ธาตุต่างชนิดกันมีเลขอะตอมเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน
            ง.  ธาตุต่างชนิดกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

8.  ธาตุโซเดียม (Na) มีเลขอะตอมเท่ากับ 11 จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนดังข้อใด
            ก.  29
            ข.  2,  8,  1
            ค.  2,  6,  5
            ง.  1,  8,  

9.  ข้อใดบอกความหมายของเลขมวลได้ถูกต้อง
            ก.  จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม
            ข.  มวลรวมของนิวตรอนโปรตอน และอิเล็กตรอนในอะตอม
            ค.  มวลรวมของนิวตรอนและโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม
            ง.  มวลรวมของโปรตอน และอิเล็กตรอนในนิวเคลียสของอะตอม

10.  ธาตุคลอรีน (CI) มีเลขอะตอม 17 จะอยู่ในคาบและหมู่ละที่เท่าไรของตารางธาตุ
      ก.  คาบ 3 หมู่ 7
     ข.  คาบ 7 หมู่ 3
     ค.  คาบ 2 หมู่ 7
     ง.  คาบ 3 หมู่ 8











เฉลยข้อสอบ
1. ข   2. ค
3. ง   4. ข
5. ข   6. ก
7. ข   8. ข

9. ค   10. ก