แรงเสียดทานหมายถึง แรงต้านการเคลื่อนที่ ของวัตถุ ที่ เกิดขึ้ นระหว่างผิวที่สัมผัสกัน เช่น เมื่อออกแรงกระทำกับวัตถุเพื่อให้ วัตถุเคลื่อนที่ จะมีแรงชนิดหนึ่งคอยต้านไว้ไม่ให้ วัตถุ เคลื่อนที่ แรงที่ต้านนี้ เรียกว่าแรงเสียดทาน
จากรูป เมื่อออกแรงดึง F จะมีแรงเสียดทาน fs เกิดขึ้นเสมอ และแรงทั้งสองจะมีขนาดเท่ากันและมีทิศตรง ข้ามกัน
ชนิดของแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน แบ่งได้ เป็น 2 ชนิดดังนี้
1. แรงเสียดทานสถิต หมายถึงแรงเสียดทานที่ เกิดขึ้นเมื่อมีแรงภายนอกมากระทําต่อวัตถุ แต่ วัตถุยังไม่เคลื่อนที่ (แรงเสียดทานสถิตมีได้หลายค่า เริ่มตั้งแต่มีค่าเป็นศูนย์ถึงค่าสูงที่สุด ซึ่ง ค่าสูงสุดนี้ จะวัดได้ก็ต่อเมื่อวัตถุเริ่มจะเคลื่อนที่)
2. แรงเสียดทานจลน์ หมายถึงแรงเสียดทานที่ เกิดขึ้นขณะที่วัตถุ กำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว
แรงเสียดทาน แบ่งได้ เป็น 2 ชนิดดังนี้
1. แรงเสียดทานสถิต หมายถึงแรงเสียดทานที่ เกิดขึ้นเมื่อมีแรงภายนอกมากระทําต่อวัตถุ แต่ วัตถุยังไม่เคลื่อนที่ (แรงเสียดทานสถิตมีได้หลายค่า เริ่มตั้งแต่มีค่าเป็นศูนย์ถึงค่าสูงที่สุด ซึ่ง ค่าสูงสุดนี้ จะวัดได้ก็ต่อเมื่อวัตถุเริ่มจะเคลื่อนที่)
2. แรงเสียดทานจลน์ หมายถึงแรงเสียดทานที่ เกิดขึ้นขณะที่วัตถุ กำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว
สัมประสิทธิ์ ความเสียดทาน
สัมประสิทธิ์ ความเสียดทานหมายถึง อัตราส่วนระหว่างแรงฉุดต่อน้ำหนักที่กด
สัมประสิทธิ์ ความเสียดทานหมายถึง อัตราส่วนระหว่างแรงฉุดต่อน้ำหนักที่กด
µ เป็นสัมประสิทธิ์ ความเสียดทาน
F เป็นแรงฉุด (N)
W เป็นน้ำหนักวัตถุ (N)
จะได้
ตัวอย่าง
กล่องใบหนึ่งมวล 1 กิโลกรัม วางอยู่บนพื้นที่มีความฝืดที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน เท่ากับ 0.5 ถ้าออกแรงดึงขนาด 100 นิวตัน แล้วทำให้กล่องเคลื่อนที่ได้ระยะกระจัด 2 เมตร จงหา
ก. งานของแรงดึง
ข. งานของแรงเสียดทาน
กล่องใบหนึ่งมวล 1 กิโลกรัม วางอยู่บนพื้นที่มีความฝืดที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน เท่ากับ 0.5 ถ้าออกแรงดึงขนาด 100 นิวตัน แล้วทำให้กล่องเคลื่อนที่ได้ระยะกระจัด 2 เมตร จงหา
ก. งานของแรงดึง
ข. งานของแรงเสียดทาน
วิธีทำ โจทย์กำหนด มวล m = 1 กิโลกรัม (kg) หรือ น้ำหนัก = 10 นิวตัน (N)
สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน m = 0.5
แรงดึง F = 100 นิวตัน (N)
ระยะกระจัด S = 2 เมตร (m)
ก. หางานของแรงดึง
จากสูตร W = F S ( เมื่อ F คือแรงดึง )
จะได้ W = 100 N x 2 m
= 200 J
ตอบ งานของแรงดึง เท่ากับ 200 จูล
สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน m = 0.5
แรงดึง F = 100 นิวตัน (N)
ระยะกระจัด S = 2 เมตร (m)
ก. หางานของแรงดึง
จากสูตร W = F S ( เมื่อ F คือแรงดึง )
จะได้ W = 100 N x 2 m
= 200 J
ตอบ งานของแรงดึง เท่ากับ 200 จูล
ข. หางานของแรงเสียดทาน
จากสูตร W = f S ( เมื่อ f คือ แรงเสียดทาน และ f = m N )
จะได้ W = N x S
= 0.5 x 10 N x ( - 2 m )
= -10 J
ตอบ งานของแรงเสียดทาน เท่ากับ -10 จูล
จากสูตร W = f S ( เมื่อ f คือ แรงเสียดทาน และ f = m N )
จะได้ W = N x S
= 0.5 x 10 N x ( - 2 m )
= -10 J
ตอบ งานของแรงเสียดทาน เท่ากับ -10 จูล
* ข้อสังเกต ระยะกระจัดมีเครื่องหมายเป็นลบ เพราะระยะกระจัดมีทิศตรงข้ามกับแรงเสียดทาน งานที่ได้จึงเป็นลบด้วยและ ค่าของ N = 10 นิวตัน เพราะ N คือ แรงปฏิกิริยาตั้งฉากซึ่งมีค่าเท่ากับน้ำหนักของวัตถุ
ปัจจัยที่มีผลต่อแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ
1. แรงกดตั้งฉากกับผิวสัมผัส ถ้าแรงกดตัวฉากกับผิวสัมผัสมากจะเกิดแรงเสียดทานมาก ถ้าแรงกดตั้งฉากกับผิวสัมผัสน้อยจะเกิดแรงเสียดทานน้อย ดังรูป
แรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ
1. แรงกดตั้งฉากกับผิวสัมผัส ถ้าแรงกดตัวฉากกับผิวสัมผัสมากจะเกิดแรงเสียดทานมาก ถ้าแรงกดตั้งฉากกับผิวสัมผัสน้อยจะเกิดแรงเสียดทานน้อย ดังรูป
รูป ก แรงเสียดทานน้อย รูป ข แรงเสียดทานมาก
รูป ข แรงเสียดทานมาก รูป ข แรงเสียดทานน้อย
3. ชนิดของผิวสัมผัส เช่น คอนกรีตกับเหล็ก เหล็กกับไม้ จะเห็นว่าผิวสัมผัสแต่ละคู่ มีความหยาบ ขรุขระ หรือเรียบลื่น เป็นมันแตกต่างกัน ทำให้เกิดแรงเสียดทานไม่เท่ากัน
การลดแรงเสียดทาน
การลดแรงเสียดทานสามารถทำได้หลายวิธีดังนี้
1. การใช้น้ำมันหล่อลื่นหรือจาระบี
2. การใช้ระบบลูกปืน
3. การใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ตลับลูกปืน
4. การออกแบบรูปร่างของยานพาหนะให้เพรียวลมทำให้ลดแรงเสียดทาน
การลดแรงเสียดทานสามารถทำได้หลายวิธีดังนี้
1. การใช้น้ำมันหล่อลื่นหรือจาระบี
2. การใช้ระบบลูกปืน
3. การใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ตลับลูกปืน
4. การออกแบบรูปร่างของยานพาหนะให้เพรียวลมทำให้ลดแรงเสียดทาน
การเพิ่มแรงเสียดทาน
การเพิ่มแรงเสียดทานในด้านความปลอดภัยของมนุษย์ เช่น
1. ยางรถยนต์มีดอกยางเป็นลวดลาย มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มแรงเสียดทานระหว่างล้อกับถนน ดังรูป
การเพิ่มแรงเสียดทานในด้านความปลอดภัยของมนุษย์ เช่น
1. ยางรถยนต์มีดอกยางเป็นลวดลาย มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มแรงเสียดทานระหว่างล้อกับถนน ดังรูป
รูปแสดงยางรถยนต์ที่มีลวดลาย
3. รองเท้าบริเวณพื้นต้องมีลวดลาย เพื่อเพิ่มแรงเสียดทานทำให้เวลาเดินไม่ลื่นหกล้มได้ง่าย ดังรูป
รูปแสดงพื้นรองเท้าที่มีลวดลาย
รูปแสดงการปูพื้นด้วยกระเบื้องยาง
สมบัติของแรงเสียดทาน
1. แรงเสียดทานมีค่าเป็นศูนย์ เมื่อวัตถุไม่มีแรงภายนอกมากระทำ
2. ขณะที่มีแรงภายนอกมากระทำต่อวัตถุ และวัตถุยังไม่เคลื่อนที่ แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นมีขนาดต่างๆ กัน ตามขนาดของแรงที่มากระทำ และแรงเสียดทานที่มีค่ามากที่สุดคือ แรงเสียดทานสถิต เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุเริ่มเคลื่อนที่
3. แรงเสียดทานมีทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ
4. แรงเสียดทานสถิตมีค่าสูงกว่าแรงเสียดทานจลน์เล็กน้อย
5. แรงเสียดทานจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับลักษณะของผิวสัมผัส ผิวสัมผัสหยาบหรือขรุขระจะมีแรงเสียดทานมากกว่าผิวเรียบและลื่น
6. แรงเสียดทานขึ้นอยู่กับน้ำหนักหรือแรงกดของวัตถุที่กดลงบนพื้น ถ้าน้ำหนักหรือแรงกดมากแรงเสียดทานก็จะมากขึ้นด้วย
7. แรงเสียดทานไม่ขึ้นอยู่กับขนาดหรือพื้นที่ของผิวสัมผัส
1. แรงเสียดทานมีค่าเป็นศูนย์ เมื่อวัตถุไม่มีแรงภายนอกมากระทำ
2. ขณะที่มีแรงภายนอกมากระทำต่อวัตถุ และวัตถุยังไม่เคลื่อนที่ แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นมีขนาดต่างๆ กัน ตามขนาดของแรงที่มากระทำ และแรงเสียดทานที่มีค่ามากที่สุดคือ แรงเสียดทานสถิต เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุเริ่มเคลื่อนที่
3. แรงเสียดทานมีทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ
4. แรงเสียดทานสถิตมีค่าสูงกว่าแรงเสียดทานจลน์เล็กน้อย
5. แรงเสียดทานจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับลักษณะของผิวสัมผัส ผิวสัมผัสหยาบหรือขรุขระจะมีแรงเสียดทานมากกว่าผิวเรียบและลื่น
6. แรงเสียดทานขึ้นอยู่กับน้ำหนักหรือแรงกดของวัตถุที่กดลงบนพื้น ถ้าน้ำหนักหรือแรงกดมากแรงเสียดทานก็จะมากขึ้นด้วย
7. แรงเสียดทานไม่ขึ้นอยู่กับขนาดหรือพื้นที่ของผิวสัมผัส
ประโยชน์ของแรงเสียดทาน
1. ทำให้วัตถุหยุดนิ่งไม่เคลื่อนที่ เช่น ช่วยหยุดรถยนต์ที่กำลังเคลื่อนที่ ยางรถที่มีดอกยางช่วยให้รถ เกาะถนนได้ดี เป็นต้น
2. การสร้างพื้นถนนต้องทำให้พื้นถรรเกิดแรงเสียดทานพอสมควร รถจึงจะเคลื่อนที่บนถนนโดยที่ล้อรถ ไม่หมุนอยู่กับที่ได้
3. ช่วยในการหยิบจับสิ่งของโดยไม่ลื่นไหลไปมา
4. ช่วยในการเดินไม่ให้ลื่นไหล
1. ทำให้วัตถุหยุดนิ่งไม่เคลื่อนที่ เช่น ช่วยหยุดรถยนต์ที่กำลังเคลื่อนที่ ยางรถที่มีดอกยางช่วยให้รถ เกาะถนนได้ดี เป็นต้น
2. การสร้างพื้นถนนต้องทำให้พื้นถรรเกิดแรงเสียดทานพอสมควร รถจึงจะเคลื่อนที่บนถนนโดยที่ล้อรถ ไม่หมุนอยู่กับที่ได้
3. ช่วยในการหยิบจับสิ่งของโดยไม่ลื่นไหลไปมา
4. ช่วยในการเดินไม่ให้ลื่นไหล
http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/16.htm
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น