การทดลองที่ 1 เรื่อง: ความหนืด (Viscosity)
1 วัตถุประสงค์
1. เพื่อทราบสมบัติของความหนืดของของไหลชนิดต่างๆ
2. สามารถระบุชนิดของของไหลนั่นๆ ได้
2 ทฤษฎี
ความหนืดเป็นสมบัติของของไหล ที่ต้านการไหล สมมุติให้แผ่น 2 แผ่นขนานกัน เคลื่อนที่สัมพัทธ์ซึ่งกันและกัน จะพบว่า จะต้องแรงที่ใช้ในการดึงแผ่นบนเพื่อให้เคลื่อนที่ แรงที่ใช้ดึงเรียกว่า viscous drag force ดังรูป 1.
|
รูปที่ 1 Viscous forces in a fluid.
แผ่นสองแผ่น วางห่างกันระยะทาง Z และความเร็วของแผ่นราบคือ v ดังนั้นจะได้แรงที่ใช้ดึงแผ่นราบ คือ F จากการทดลองพบว่า แรงดังกล่าวเป็นสัดส่วนกับโดยตรงกับ v และเป็นสัดส่วนผกผันกับระยะทาง Z สัมประสิทธิ์เรียกว่า ความหนืด (viscosity) และมีสัญลักษณ์ m (mu).
จากนิยามจะได้
F/A = mv/Z
จากสูตร จัดรูปใหม่ จะได้หน่วยความหนืด (N s m-2) หรือ Pascal second, (Pa s)
กำหนดให้ 10 poises = 1000 centipoises = 1 N s m-2 = 1 Pa s
ค่าความหนืดของสารต่างๆ สามารถหาได้จาก ภาคผนวก ตัวอย่างเช่น
Water at room temperature = 1 x 10-3 N s m-2 Acetone = 0.3 x 10-3 N s m-2 Tomato pulp = 3 x 10-3 N s m-2 olive oil = 100 x 10-3 N s m-2 molasses = 7000 N s m-2.
ความหนืด เป็นสมบัติที่ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ โดยเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ความหนืดจะลดลงอย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น ความหนืดของ Golden syrup มีค่า 100 N s m-2 ที่ T=
ความหนืด(m) เป็น Dynamic Viscosity
ความหนืดจนล์(u) เป็น kinetic viscosity ซึ่ง u = m/r
Newtonian and Non-Newtonian Fluids
จากนิยามของความหนืด viscosity ในสมการที่ (5.14) สามารถเขียนใหม่ได้เป็น:
F/A = mv /Z = m (dv/dz) = t
โดย t (tau) เรียกว่า shear stress
สำหรับของไหลชนิดต่างๆ พบว่า ค่า shear stress จะมีความสัมพันธ์ดังสมการ
และเรียกสมการนี้ว่า power-law equation โดยที่ k เป็นค่าคงที่
ของไหลชนิด Newtonian มี่ค่า n = 1 ของไหลชนิด Non-Newtonian มีค่า n ไม่เท่ากับ 1 (มากว่า หรือ น้อยกว่า 1 ก็ได้) ของไหลชนิด Non-Newtonian สามารถแบ่งได้ดังนี้
(1) Those in which n < 1. ดังรูปที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่าง shear rate กับ shear stress จะเป็นกราฟโค้งคว่ำ หมายความว่า เมื่อออกแรง shear rate มากขึ้น ความหนืดจะมีค่า ลดลง ตัวอย่างเช่น ซอสมะเขือเทศ และเรียกของไหลชนิดนี้ว่าเป็น pseudoplastic
(2) Those in which n > 1. ดังรูปที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่าง shear rate กับ shear stress จะเป็นกราฟโค้งหงาย หมายความว่า เมื่อออกแรง shear rate มากขึ้น ความหนืดจะมีค่าเพิ่มขึ้น ตัวอย่างเช่น crystallized sugar solutions หรือ สีทาบ้าน และเรียกของไหลชนิดนี้ว่าเป็น dilatant ส่วนของไหลชนิด Bingham fluids จะต้องออกแรง shear rate ถึงค่าค่าหนึ่ง แล้วมันถึงจะเคลื่อนที่
รูปที่ 2 Shear stress/shear rate relationships in liquids.
3 วิธีการทดลอง
4 ผลการทดลองและอภิปรายผลการทดลอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น