ตอนที่ 1 ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย / หน้าข้อที่ถูก และกาเครื่องหมาย หน้าข้อที่ผิด
……1. เครื่องยกรถไฟไฮดรอลิกทำงานยกน้ำหนักโดยใช้หลักของอาร์คีมิดีส
……2. ถ้าเพิ่มแรงดันให้ผิวของของเหลวที่อยู่ในที่จำกัด แรงดันจะไปเพิ่ม ณ จุดต่างๆ ในของเหลวเท่ากันหมด
……3. สเปรย์ฉีดน้ำหอมใช้หลักความดันของของเหลว
……4. เครื่องอัดไฮดรอลิก ได้แก่ แม่แรงยกรถแบบหมุนเกลียว
……5. เครื่องอัดไฮดรอลิกเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความดันของของเหลว
……6. เมื่อเพิ่มแรงดันของของเหลวที่อยู่ในภาชนะปิด ปริมาตรของของเหลวจะไม่เปลี่ยนแปลงเลย
……7. พาสคัลเป็นผู้ค้นพบว่า ถ้าเพิ่มความดันในผิวของของไหล ที่อยู่ในที่จำกัด ความดันที่เพิ่มขึ้นจะถ่าย
ทอดไปทุกๆจุด ในของเหลวเท่ากัน
……8. อาร์คีมิดีส เป็นผู้ค้นพบว่า วัตถุใดๆ ที่จมอยู่ในของไหลทั้งก้อน หรือจมเพียงบางส่วน จะถูกแรงลอยตัว
กระทำ และขนาดของแรงลอยตัวนั้นเท่ากับขนาดของน้ำหนักของของไหลที่ถูกวัตถุแทนที่
……9. แรงลอยตัว เป็นแรงทั้งหมดที่กระทำต่อวัตถุเมื่อจมอยู่ในของไหลทั้งก้อน หรือจมบางส่วน
……10. ถ้าความหนาแน่นของวัตถุเท่ากับความหนาแน่นของของเหลว เมื่อนำวัตถุดังกล่าวลงไปไว้ในของเหลว
นั้น วัตถุนั้นไม่จมอยู่ในของเหลวนั้น หรือไม่จมเพียงบางส่วน
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนเลือกคำตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียน O ล้อมรอบข้อนั้น
1. แม่แรงยกรถยนต์เครื่องหนึ่งลูกสูบใหญ่มีพื้นที่เป็น 100 เท่าของลูกสูบเล็ก ถ้าต้องการให้แม่แรงนี้ยกรถยนต์มวล 900 กิโลกรัม จะต้องออกแรงกดที่ลูกสูบเล็กของแม่แรงกี่นิวตัน ( g = 10 m/s2 )
ก. 10 ข. 80 ค. 90 ง. 180
2. พื้นที่ภาคตัดขวางของลูกสูบเล็กในเครื่องอัดบรามาห์เท่ากับ 6 ตร.ซม. และลูกสูบใหญ่เท่ากับ 600 ตร.ซม. การได้เปรียบเชิงกลของคาน คือที่สำหรับโยกขึ้นลงเท่ากับ 4 ถ้าออกแรงโยกที่คานถือ 500 นิวตัน ลูกสูบใหญ่จะยกน้ำหนักได้เท่าใด
ก. 1x105 N ข. 2x105 N ค. 3x105 N ง. 4x105 N
3. เครื่องอัดไฮดรอลิก เครื่องหนึ่งใช้ยกน้ำหนัก 2,240 นิวตัน โดยผู้ใช้ออกแรงกดเท่ากับ 5 นิวตัน ถ้าเส้นผ่านศูนย์กลางของลูกสูบใหญ่เป็น 8 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของลูกสูบเล็ก จงหาอัตราส่วนของแขนคานงัดที่ใช้กดลูกสูบเล็ก
ก. 3 : 1 ข. 5 : 1 ค. 7 : 1 ง. 9 : 1
4. เครื่องอัดไฮดรอลิกเครื่องหนึ่ง ลูกสูบใหญ่มีพื้นที่หน้าตัด 2 ตารางเมตร มีมวล 30,000 กิโลกรัม อยู่บนลูกสูบ ลูกสูบเล็กมีพื้นที่หน้าตัด 0.5 ตารางเมตร ในเครื่องอัดไฮดรอลิกมีน้ำมัน ความหนาแน่น 780 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ถ้าเครื่องอัดไฮดรอลิกอยู่ในสมดุล โดยระดับน้ำมันในลูกสูบเล็กสูงกว่าระดับ น้ำมันในลูกสูบใหญ่ 19.2 เมตร แรง F ที่กดบนลูกสูบเล็กจะต้องมีค่าเท่าใด
ก. 120 N ข. 100 N ค. 80 N ง. 60 N
5. เมื่อน้ำวัตถุหนึ่งใส่ลงในน้ำ ปรากฏว่าวัตถุนี้ลอยน้ำ โดยมีปริมาตรของวัตถุจมลงในของเหลว 0.4 เท่าของปริมาตรวัตถุทั้งหมด ความหนาแน่นของวัตถุนี้จะเป็นกี่เท่าของความหนาแน่นของน้ำ ( g = 10 m/s2 )
ก. 0.7 ข. 0.6 ค. 0.5 ง. 0.4
เฉลยแบบฝึกทักษะ เรื่อง กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คิมีคิส
ตอนที่ 1 ตอนที่ 2
ข้อ คำตอบ ข้อ คำตอบ
1 X 1 ค
2 X 2 ข
3 / 3 ค
4 X 4 ก
5 X 5 ง
6 /
7 /
8 /
9 /
10 X
@@@@@@@@@@@@@@@
ความหนาแน่น และความดันในของไหล
ตอนที่ 1 ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย / หน้าข้อที่ถูก และกาเครื่องหมาย ´ หน้าข้อที่ผิด
……1. ความดันหมายถึง แรงหรือน้ำหนักที่กระทำตั้งฉากลงบนพื้นที่หนึ่งตารางหน่วย
……2. ณ ตำแหน่งใดๆ ในของเหลว แรงดันของของเหลวมีทุกทิศทางรอบตำแหน่งนั้น
……3. ของเหลวที่อยู่ติดกับภาชนะจะส่งแรงดันออกในทิศตั้งฉากกับผิวภาชนะที่ของเหลวนั้นสัมผัสอยู่
……4. ภายใต้สภาพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ตำแหน่งใดๆ ขึ้นกับความลึกของ
ตำแหน่งนั้น ที่วัดจากผิวของเหลว เท่านั้น
……5. ภายใต้สภาพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ตำแหน่งใดๆ ขึ้นกับความหนาแน่น
ของของเหลวเท่านั้น
……6. ภายใต้สภาพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ตำแหน่งใดๆ ขึ้นกับความลึกของ
ตำแหน่งนั้น ที่วัดจากผิวของเหลว และความหนาแน่นของของเหลว
……7. ในภาชนะปิด ปริมาตรของของเหลวจะคงที่ เมื่อเพิ่มแรงดันมากขึ้น
……8. ความดันของของเหลวจะเป็นส่วนกลับกับความลึกของของเหลวนั้น
……9. ความดันของของเหลวขึ้นอยู่กับรูปร่างของภาชนะและปริมาตรของของเหลว
……10. ความดันเกจ คือความดันที่เกิดขึ้นเนื่องจากน้ำหนักของของเหลวเท่านั้น
ข้อ คำตอบ
1 /
2 /
3 /
4 X
5 X
6 /
7 /
8 X
9 X
10 /
……1. ความดันหมายถึง แรงหรือน้ำหนักที่กระทำตั้งฉากลงบนพื้นที่หนึ่งตารางหน่วย
……2. ณ ตำแหน่งใดๆ ในของเหลว แรงดันของของเหลวมีทุกทิศทางรอบตำแหน่งนั้น
……3. ของเหลวที่อยู่ติดกับภาชนะจะส่งแรงดันออกในทิศตั้งฉากกับผิวภาชนะที่ของเหลวนั้นสัมผัสอยู่
……4. ภายใต้สภาพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ตำแหน่งใดๆ ขึ้นกับความลึกของ
ตำแหน่งนั้น ที่วัดจากผิวของเหลว เท่านั้น
……5. ภายใต้สภาพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ตำแหน่งใดๆ ขึ้นกับความหนาแน่น
ของของเหลวเท่านั้น
……6. ภายใต้สภาพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ตำแหน่งใดๆ ขึ้นกับความลึกของ
ตำแหน่งนั้น ที่วัดจากผิวของเหลว และความหนาแน่นของของเหลว
……7. ในภาชนะปิด ปริมาตรของของเหลวจะคงที่ เมื่อเพิ่มแรงดันมากขึ้น
……8. ความดันของของเหลวจะเป็นส่วนกลับกับความลึกของของเหลวนั้น
……9. ความดันของของเหลวขึ้นอยู่กับรูปร่างของภาชนะและปริมาตรของของเหลว
……10. ความดันเกจ คือความดันที่เกิดขึ้นเนื่องจากน้ำหนักของของเหลวเท่านั้น
ข้อ คำตอบ
1 /
2 /
3 /
4 X
5 X
6 /
7 /
8 X
9 X
10 /
แบบทดสอบการแทรกสอดของแสง
แบบทดสอบการแทรกสอดของแสง
1.
จากการทดลองหาความยาวคลื่นของแสงสีหนึ่ง โดยวางฉากรับริ้วการแทรกสอดไว้ห่างจาก
สลิตคู่เป็นระยะทาง 100 เซนติเมตร และระยะห่างระหว่างสลิตทั้งสองเป็น 0.02
มิลลิเมตร พบว่ามีแถบสว่าง – แถบมืดเกิดขึ้น
บนฉากหลายแถบ ถ้าแสงนี้มีความยาวคลื่น 500
นาโนเมตรแถบมืดที่ 1 กับแถบมืดที่ 5 ห่างกันกี่เซนติเมตร
ก. 10 ข. 12 ค. 14 ง. 16
2.
จากการทดลองหาความยาวคลื่นของแสงสีหนึ่ง โดยวางฉากรับริ้วการแทรกสอดไว้ห่างจาก
สลิตคู่เป็นระยะทาง 120 เซนติเมตร และระยะห่างระหว่างสลิตทั้งสองเป็น 0.02
มิลลิเมตร พบว่ามีแถบสว่าง – แถบมืดเกิดขึ้น
บนฉากหลายแถบ ถ้าแสงนี้มีความยาวคลื่น 500
นาโนเมตรแถบสว่างที่ 1 กับแถบสว่างที่ 3
ห่างกันกี่เซนติเมตร
ก. 3 ข. 4 ค. 5 ง. 6
3.
จากการทดลองหาความยาวคลื่นของแสงสีหนึ่ง โดยวางฉากรับริ้วการแทรกสอดไว้ห่างจาก
สลิตคู่เป็นระยะทาง 280 เซนติเมตร และระยะห่างระหว่างสลิตทั้งสองเป็น 0.07
มิลลิเมตร พบว่ามีแถบสว่าง – แถบมืดเกิดขึ้น
บนฉากหลายแถบ แถบมืดที่ 3 กับแถบมืดที่ 5 ห่างกัน 4 เซนติเมตร แสงนี้มีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร
ก. 200 ข. 300 ค. 400 ง. 500
4.
จากการทดลองหาความยาวคลื่นของแสงสีหนึ่ง โดยวางฉากรับริ้วการแทรกสอดไว้ห่างจาก
สลิตคู่เป็นระยะทาง 350 เซนติเมตร และระยะห่างระหว่างสลิตทั้งสองเป็น 0.07
มิลลิเมตร พบว่ามีแถบสว่าง – แถบมืดเกิดขึ้น
บนฉากหลายแถบ แถบสว่างที่ 2 กับแถบมืดที่ 7 ห่างกัน 9 เซนติเมตร แสงนี้มีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร
ก. 400 ข. 500 ค. 600 ง. 700
5.
จากการทดลองเกี่ยวกับการแทรกสอดของแสงสี 2 แสงสี
โดยวางฉากรับริ้วการแทรกสอดไว้ห่างจากสลิตคู่และระยะห่างระหว่างสลิตทั้งสองเท่ากัน
พบว่าแถบสว่างที่ 3 ของแสงสีแรก เกิดขึ้นที่เดียวกับ
แถบมืดที่ 3 ของแสงสีที่สอง
แสงสีที่สังเกตแถบสว่างมีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร แสงสีที่สองจะมีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร
ก. 400 ข. 500 ค. 600 ง. 700
6.
จากการทดลองเกี่ยวกับการแทรกสอดของแสงสี 2 แสงสี
โดยวางฉากรับริ้วการแทรกสอดไว้ห่างจากสลิตคู่และระยะห่างระหว่างสลิตทั้งสองเท่ากัน
พบว่าแถบมืดที่ 2 ของแสงสีแรก เกิดขึ้นที่เดียวกับ แถบมืดที่
3 ของแสงสีที่สอง
แสงสีที่สังเกตแถบมืดของแสงสีแรกมีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร แสงสีที่สองจะมีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร
ก. 500 ข. 400 ค. 300 ง. 200
7.
จากการทดลองเกี่ยวกับการแทรกสอดของแสงสี 2 แสงสี
โดยวางฉากรับริ้วการแทรกสอดไว้ห่างจากสลิตคู่และระยะห่างระหว่างสลิตทั้งสองเท่ากัน
พบว่าแถบสว่างที่ 3 ของแสงสีแรก เกิดขึ้นที่เดียวกับ
แถบสว่างที่ 5 ของแสงสีที่สอง แสงสีแรกมีความยาวคลื่น เป็นกี่เท่าของแสงสีที่
2
ก. ข. ค. ง.
8.
จากการทดลองหาความยาวคลื่นของแสงสีหนึ่ง โดยวางฉากรับริ้วการแทรกสอดไว้ห่างจาก
สลิตคู่เป็นระยะทาง 150 เซนติเมตร และระยะห่างระหว่างสลิตทั้งสองเป็น 0.05
มิลลิเมตร พบว่ามีแถบสว่าง – แถบมืดเกิดขึ้น
บนฉากหลายแถบ แถบมืดที่ 2 กับแถบมืดที่ 5 ห่างกัน 6 เซนติเมตร แสงนี้มีความถี่เท่าไรเมื่อ ความเร็วของแสงเป็น
3x108 m/s
ก. 4.5 x 10 13 Hz ข. 4.5 x 10 14 Hz ค. 4.5 x 10 15 Hz ง. 4.5 x 10 16 Hz
9.
จากการทดลองเกี่ยวกับการแทรกสอดของแสงสี 2 แสงสี
โดยวางฉากรับริ้วการแทรกสอดไว้ห่างจากสลิตคู่และระยะห่างระหว่างสลิตทั้งสองเท่ากัน
พบว่าแถบสว่างที่ 4 ของแสงสีแรก เกิดขึ้นที่เดียวกับ
แถบมืดที่ 4 ของแสงสีที่สอง
แสงสีที่สังเกตแถบสว่างมีความยาวคลื่น 420 นาโนเมตร แสงสีที่สองมีความถี่เท่าไรเมื่อ
ความเร็วของแสงเป็น 3x108 m/s
ก. 6.25 x 10 13 Hz ข. 6.25 x 10 14 Hz ค. 6.25 x 10 15 Hz ง. 6.25 x 10 16 Hz
10.
ถ้าภาพการแทรกจากสลิตคู่ที่ปรากฏบนฉากทำให้แถบสว่างที่
1 ห่างจากแถบกลาง 3x10 – 3 เมตร ฉากอยู่ห่างจากสลิตเท่ากับ 1.2 เมตร ระยะห่างระหว่างสลิตเท่ากับ 0.24
มิลลิเมตร ความยาวคลื่นของแสงที่ใช้เป็นกี่นาโนเมตร
ก.
650 ข. 600 ค. 550 ง. 500
เฉลยแบบทดสอบ
ก่อนเรียนและหลังเรียน
|
|
ข้อ
|
คำตอบ
|
1
|
ก
|
2
|
ง
|
3
|
ง
|
4
|
ก
|
5
|
ค
|
6
|
ค
|
7
|
ข
|
8
|
ข
|
9
|
ข
|
10
|
ข
|
แบบทดสอบ ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ คลื่นกระแทก
แบบทดสอบ ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ คลื่นกระแทก
1.
ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูก
1.
ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์
ผู้ฟังเสียงจะได้ยินเสียงที่มีความเข้มเสียงต่างไปจากเดิม
2.
ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ แหล่งกำเนิดเสียงจะให้เสียงที่มีระดับเสียงเท่าเดิม
3.
ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์
ผู้ฟังเสียงจะได้ยินเสียงที่มีระดับเสียงต่างไปจากเดิม
ก. ข้อ 1
และ 2 ข. ข้อ 2 และ 3 ค. ข้อ 1 และ 3 ง. ข้อ 1 , 2 และ 3
2.
ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูก
1.
แหล่งกำเนิดเสียง
ส่งเสียงความถี่และกำลังเสียงคงที่
ขณะเราวิ่งออกจากแหล่งกำเนิด จะเกิดปรากฏการณ์ดอปเปลอร์
2.
แหล่งกำเนิดเสียง
ส่งเสียงความถี่และกำลังเสียงคงที่
ขณะเราวิ่งเข้าหาแหล่งกำเนิด จะเกิดปรากฏการณ์ดอปเปลอร์
3.
จากข้อ 1 และ 2 จะไม่เกิดปรากฏการณ์ดอปเปลอร์
ก. ข้อ 1
และ 2 ข. ข้อ 1
เท่านั้น ค. ข้อ 2
เท่านั้น ง. ข้อ 3 เท่านั้น
3. ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูก
1.
ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ จะมีความถี่สูงสุด
เมื่อผู้ฟังและแหล่งกำเนิดเสียง เคลื่อนที่เข้าหากัน
2.
ปรากฏการณ์คลื่นกระแทก
เกิดขึ้นเมื่อเครื่องบิน บินเร็วเหนือเสียง
ก. ข้อ 1 เท่านั้น ข. ข้อ 2 เท่านั้น ค. ถูกทั้ง 2 ข้อ ง. ผิดทั้ง
2 ข้อ
4. ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูก
1. เรือแล่นด้วยความเร็วมากกว่าความเร็วคลื่นน้ำ เกิดปรากฏการณ์คลื่นกระแทก
2. ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ จะมีความถี่ต่ำสุด เมื่อผู้ฟังและแหล่งกำเนิดเสียง
เคลื่อนที่ออกจากกัน
ก. ข้อ 1 เท่านั้น ข. ข้อ 2 เท่านั้น ค. ถูกทั้ง 2 ข้อ ง. ผิดทั้ง
2 ข้อ
5.
ข้อใดเป็น คลื่นกระแทก
1.
แหล่งกำเนิดคลื่นมีความเร็วมากกว่าคลื่นในตัวกลาง
2.
ลูกปืนเคลื่อนที่ในอากาศด้วยความเร็วน้อยกว่าเสียง
ก. ข้อ 1 เท่านั้น ข. ข้อ 2 เท่านั้น ค. ถูกทั้ง 2 ข้อ ง. ผิดทั้ง
2 ข้อ
6.
เครื่องบินลำหนึ่งทำให้เกิดคลื่นกระแทกในลักษณะรูปกรวยเป็นมุมยอด
38 องศา ต่อมาเปลี่ยนเป็น 29 , 35 และ 42
องศา ตามลำดับ
อยากทราบว่าความเร็วของเครื่องบินเปลี่ยนแปลงตามข้อใดเมื่อเทียบกับตอนแรก
ก. ช้า – ช้า
– ช้า ข. ช้า –
ช้า – เร็ว ค.
ช้า – เร็ว – เร็ว
ง. เร็ว – เร็ว
– ช้า
7.
รถพยาบาลแล่นด้วยอัตราเร็ว 26 เมตรต่อวินาที
เกิดเสียงของไซเรนหน้ารถพยาบาลที่มีความยาวคลื่น 81 เซนติเมตร
เมื่ออัตราเร็วเสียงไซเรนอากาศขณะนั้นเป็น 350 เมตรต่อวินาที
อยากทราบว่าเสียงไซเรนของรถพยาบาลมีความถี่กี่เฮิรตซ์
ก. 700 ข. 600 ค. 500 ง. 400
8.
รถดับเพลิงคันหนึ่งวิ่งด้วยความเร็ว 40เมตรต่อวินาที
เปิดหวอด้วยความถี่ 500 เฮิรตซ์
ผู้ฟังกำลังขี่รถจักรยานยนต์ด้วยความเร็ว 22 เมตรต่อวินาที
เขาจะได้ยินเสียงหวอด้วยความถี่กี่เฮิรตซ์
ถ้าเขาขี่รถจักรยานยนต์นำหน้ารถดับเพลิง
กำหนดให้อัตราเร็วเสียงในอากาศขณะนั้นเท่ากับ 340 เมตรต่อวินาที
ก. 330 ข. 430 ค. 530 ง. 630
9.
ถ้าต้องการให้เครื่องบินมีอัตราเร็วเป็นสองเท่าของอัตราเร็วเสียง
หน้าคลื่นกระแทกที่เกิดจากเครื่องบินลำนี้ จะต้องทำมุมกันกี่องศา
ก. 15 ข. 30 ค. 45 ง. 60
10.
อัตราเร็วของเรือลำหนึ่งเป็น 16 เมตรต่อวินาที โดยหน้าคลื่นทำมุม 30 องศา
กับแนวการเคลื่อนที่ของเรือ อยากทราบว่าอัตราเร็วของคลื่นน้ำ เป็นกี่เมตรต่อวินาที
ก. 12 ข. 10 ค. 8 ง. 6
เฉลยแบบทดสอบ
ก่อนเรียนและหลังเรียน
|
|
ข้อ
|
คำตอบ
|
1
|
ข
|
2
|
ก
|
3
|
ค
|
4
|
ค
|
5
|
ก
|
6
|
ง
|
7
|
ง
|
8
|
ค
|
9
|
ง
|
10
|
ค
|
แบบทดสอบเสียงดนตรี บีตส์ และคลื่นนิ่งของเสียง
แบบทดสอบเสียงดนตรี บีตส์ และคลื่นนิ่งของเสียง
1.
ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูก
1.
ความถี่ธรรมชาติของวัตถุ คือ
ความถี่ของการแกว่งหรือการสั่นที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลก
2.
การสั่นพ้อง คือ การเคาะส้อมเสียงที่มีความถี่ต่างกัน
2 อันพร้อมกัน
3.
การสั่นพ้อง คือ การออกแรงแกว่งชิงช้า
โดยความถี่ของแรงเท่ากับความถี่ธรรมชาติของชิงช้า
ก. ข้อ 1 , 2 และ 3 ข. ข้อ 1 ค. ข้อ 2
ง. ข้อ 3
2.
ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูก เกี่ยวกับ
การสั่นพ้องของเสียงในท่อปลายเปิด 2 ข้าง
1.
ที่ปลายเปิดทั้งสองข้างเป็นปฏิบัพ
2.
ความยาวที่สั้นที่สุดของลำอากาศในท่อที่จะทำให้เกิดการสั่นพ้องครั้งแรกเท่ากับ
ก. ถูกทั้งสองข้อ ข. ผิดทั้งสองข้อ ค. ข้อ 1 เท่านั้น ง. ข้อ 2 เท่านั้น
3.
สิ่งที่ช่วยแยกประเภทของแหล่งกำเนิดเสียงได้คือ
ก. คุณภาพเสียง ข. ความเข้มเสียง ค. ระดับเสียง ง. ระดับความเข้มเสียง
4.
นักดนตรีคนหนึ่งเล่นไวโอลิน ความถี่ 504 เฮิรตซ์
นักดนตรีอีกคนเล่นกีตาร์พร้อมกัน เกิดบีตส์
5 เฮิรตซ์
แสดงว่า นักดนตรีเล่นกีตาร์ที่ความถี่กี่เฮิรตซ์
ก. 499 ข. 509 ค. ถูกทั้ง
ข้อ ก. และ ข. ง. ผิดทั้งข้อ
ก. และ ข.
5.
ลวดสายกีตาร์ขึงอยู่ระหว่างจุดตรึง 2 จุดห่างกัน
50 เซนติเมตร
เมื่อดีดให้เสียงหลักที่ความถี่ 480 เฮิรตซ์
ความเร็วของคลื่นในลวดเป็นกี่เมตรต่อวินาที
ก. 480
ข. 490 ค. 500 ง. 510
6.
ในการทดลองการสั่นพ้องของเสียงโดยใช้หลอดเรโซแนนซ์
ปรากฏว่าขณะเกิดการสั่นพ้องครั้งแรกลูกสูบอยู่ห่างจากปากหลอด 10 เซนติเมตร
ถ้าหลอดเรโซแนนซ์ยาว 1.2 เมตร
จะเกิดการสั่นพ้องได้ทั้งหมดกี่ครั้ง
ก. 4 ข. 5 ค. 6 ง. 7
7.
ในการทดลองการสั่นพ้องของเสียงโดยใช้หลอดเรโซแนนซ์
ผลปรากฏว่าตำแหน่งที่ได้ยินเสียงดังที่สุด
ครั้งแรกอยู่ห่างจากปากหลอดกี่เท่าของความยาวคลื่น
ก. 1.25
ข. 0.75 ค. 0.50 ง. 0.25
8.
ในการแบ่งเสียงดนตรีทางวิทยาศาสตร์ ถ้าเสียง E// เป็น 1,280 เฮิรตซ์ เสียง E จะมีความถี่กี่เฮิรตซ์
ก. 160
ข. 320 ค. 640
ง. 960
9.
ถ้าขณะนั้นอัตราเร็วเสียงในอากาศเท่ากับ 340 เมตรต่อวินาที
จงหาความยาวที่น้อยที่สุดของกล่องเสียงที่ทำให้เกิดความถี่เสียง
จากการสั่นของซ้อมเสียงด้วยความถี่ที่ติดตั้งบนกล่องเสียงด้วยความถี่ 200 เฮิรตซ์
ก. 37.5
ซม. ข. 42.5
ซม. ค. 47.5
ซม. ง. 52.5 ซม.
10.
หลอดปลายเปิด 2 ข้าง
ปลายข้างหนึ่งจุ่มลงในน้ำให้อยู่ใต้ผิวน้ำ เมื่อนำส้อมเสียงที่กำลังสั่นมาจ่อที่ปากหลอด
พบว่ามีตำแหน่งเสียงดังที่สุด โดยตำแหน่งแรก จมลงในน้ำ 27 ซม.
ตำแหน่งที่สองหลอดจมลงในน้ำ 45 ซม. จงหาความยาวคลื่นเสียงนี้
ก. 52 ซม. ข. 48 ซม. ค. 42
ซม. ง. 36 ซม.
เฉลยแบบทดสอบ
ก่อนเรียนและหลังเรียน
|
|
ข้อ
|
คำตอบ
|
1
|
ง
|
2
|
ก
|
3
|
ก
|
4
|
ค
|
5
|
ก
|
6
|
ข
|
7
|
ง
|
8
|
ข
|
9
|
ข
|
10
|
ง
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)