ผลการเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 5 รหัสวิชา ว33205

ผลการเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 5 รหัสวิชา ว33205


ผลการเรียนรู้
1.      สังเกต และอธิบายเส้นสนามแม่เหล็ก อธิบายและคำนวณฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณที่กำหนด รวมทั้งสังเกตและอธิบายสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำเส้นตรงและโซเลนอยด์ได้
2.      อธิบาย และคำนวณแรงแม่เหล็กที่กระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทำต่อเส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและวางในสนามแม่เหล็ก รัศมีความโค้งของการเคลื่อนที่เมื่อประจุเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก รวมทั้งอธิบายแรงระหว่างเส้นลวดตัวนำคู่ขนานที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านได้
3.      อธิบายหลักการทำงานของแกลแวนอมิเตอร์และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้
4.      สังเกต และอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำ กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งนำความรู้เรื่องอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำไปอธิบายการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้าได้
5.      อธิบาย และคำนวณความต่างศักย์อาร์เอ็มเอส และกระแสไฟฟ้าอาร์เอ็มเอสได้
6.      อธิบายหลักการทำงานและประโยชน์ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส การแปลงอีเอ็มเอฟของหม้อแปลง และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้
7.      อธิบายและคำนวณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ ความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนสถานะ และความร้อนที่เกิดจากการถ่ายโอนตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน
8.      อธิบายกฎของแก๊สอุดมคติและคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
9.      อธิบายแบบจำลองของแก๊สอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส และอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุลของแก๊ส รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
10.  อธิบายและคำนวณงานที่ทำโดยแก๊สในภาชนะปิดโดยความดันคงตัว และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความร้อน พลังงานภายในระบบ และงานรวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและนำความรู้ เรื่อง พลังงานภายในระบบไปอธิบายหลักการทำงานของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน
11.  อธิบายสภาพยืดหยุ่นและลักษณะการยืดและหดตัวของวัสดุที่เป็นแท่ง เมื่อถูกกระทำด้วยแรงค่าต่าง ๆ รวมทั้งทดลอง อธิบาย และคำนวณความเค้นตามยาว ความเครียดตามยาวและมอดุลัสของยัง และนำความรู้เรื่องสภาพยืดหยุ่นไปใช้ในชีวิตประจำวัน
12.  อธิบาย และคำนวณความดันเกจ ความดันสัมบูรณ์ และความดันบรรยากาศ รวมทั้งอธิบายหลักการทำงานของแมนอมิเตอร์ บารอมิเตอร์ และเครื่องอัดไฮดรอลิกได้
13.  ทดลอง อธิบาย และคำนวณขนาดแรงพยุงจากของไหลได้
14.  ทดลอง อธิบาย และคำนวณความตึงผิวของของเหลว รวมทั้งสังเกตและอธิบายแรงหนืดของของเหลวได้
15.  อธิบายสมบัติของของไหลอุดมคติ สมการความต่อเนื่อง และสมการแบร์นูลลี รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำความรู้เกี่ยวกับสมการความต่อเนื่องและสมการแบร์นูลลีไปอธิบายหลักการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้


                                                 คำอธิบายรายวิชา


          ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายหลักการของแม่เหล็กไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก ฟลักซ์แม่เหล็ก การเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามแม่เหล็ก แรงกระทำต่อลวดตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านเมื่อวางอยู่ในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนำ แกลแวนอมิเตอร์ มอเตอร์กระแสตรง กระแสเหนี่ยวนำ กฎการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าของฟาราเดย์และกฎของเลนซ์ หลักการของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า หม้อแปลงวงจรพื้นฐานของไฟฟ้ากระแสสลับ การแปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้ากระแสตรง ความร้อน อุณหภูมิ ความจุความร้อน การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน สถานะและการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การถ่ายโอนความร้อน แก๊สอุดมคติ กฎของบอยล์ กฎของชาร์ล กฎของเกย์-ลูสแซก กฎของแก๊สอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ความดันและพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส อัตราเร็วของโมเลกุลของแก๊ส พลังงานภายในระบบ กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์ การประยุกต์เกี่ยวกับอุณหพลศาสตร์ สภาพยืดหยุ่นของวัสดุ ความเค้น ความเครียด มอดุลัสของยัง ความดันในของไหลและกฎพาสคัล แรงพยุงและหลักอาร์คิมีดีส ความตึงผิว การเคลื่อนที่ในของไหล สมบัติของของไหลอุดมคติ สมการความต่อเนื่อง และสมการแบร์นูลลี
          โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การอภิปราย การอธิบายและการสรุปผล เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด และความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตตนเอง ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ถูกต้อง


ตัวชี้วัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี) ม.4-6

ตัวชี้วัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี)

1. ระบุว่าสารเป็นธาตุหรือสารประกอบ และอยู่ในรูปอะตอม โมเลกุล หรือไอออนจากสูตรเคมี
2. เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจาลองอะตอมของโบร์กับแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
3. ระบุจานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม และไอออนที่เกิดจากอะตอมเดียว
4. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุการเป็นไอโซโทป
5. ระบุหมู่และคาบของธาตุ และระบุว่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ หรือกลุ่มธาตุแทรนซิชัน จากตารางธาตุ
6. เปรียบเทียบสมบัติการนาไฟฟ้า การให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตุในกลุ่มโลหะกับอโลหะ
7. สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่างประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชัน
8. ระบุว่าพันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม และระบุจานวนคู่อิเล็กตรอนระหว่างอะตอมคู่ร่วมพันธะจากสูตรโครงสร้าง
9. ระบุสภาพขั้วของสารที่โมเลกุลประกอบด้วย 2 อะตอม
10. ระบุสารที่เกิดพันธะไฮโดรเจนได้จากสูตรโครงสร้าง
11. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือดของสารโคเวเลนต์กับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลตามสภาพขั้วหรือการเกิดพันธะไฮโดรเจน
12. เขียนสูตรเคมีของไอออนและสารประกอบ ไอออนิก
13. ระบุว่าสารเกิดการละลายแบบแตกตัวหรือ ไม่แตกตัว พร้อมให้เหตุผลและระบุว่าสารละลายที่ได้เป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ หรือนอนอิเล็กโทรไลต์
14. ระบุสารประกอบอินทรีย์ประเภทไฮโดรคาร์บอนว่าอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัวจากสูตรโครงสร้าง
15. สืบค้นข้อมูลและเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพระหว่างพอลิเมอร์และมอนอเมอร์ของพอลิเมอร์ชนิดนั้น
16. ระบุสมบัติความเป็นกรด-เบส จากโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์
17. อธิบายสมบัติการละลายในตัวทาละลายชนิดต่าง ๆ ของสาร
18. วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับสมบัติเทอร์มอพลาสติกและเทอร์มอเซตของพอลิเมอร์ และการนาพอลิ-เมอร์ไปใช้ประโยชน์
19. สืบค้นข้อมูลและนาเสนอผลกระทบของการใช้ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม พร้อมแนวทางป้องกันหรือแก้ไข
20. ระบุสูตรเคมีของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ และแปลความหมายของสัญลักษณ์ในสมการเคมีของปฏิกิริยาเคมี
21. ระบุสูตรเคมีของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ และแปลความหมายของสัญลักษณ์ในสมการเคมีของปฏิกิริยาเคมี
22. สืบค้นข้อมูลและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันหรือในอุตสาหกรรม
23. อธิบายความหมายของปฏิกิริยารีดอกซ์
24. อธิบายสมบัติของสารกัมมันตรังสี และคานวณครึ่งชีวิตและปริมาณของสารกัมมันตรังสี
25. ระบุสูตรเคมีของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ และแปลความหมายของสัญลักษณ์ในสมการเคมีของปฏิกิริยาเคมี




























แนวข้อสอบครูผู้ช่วย 2563 เรื่อง PLC ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิขาชีพ

แนวข้อสอบ PLC ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community)
พร้อมเฉลย

1. PLC มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. Professional Learn Community
ข. Professional Learning Communication
ค. Professional Learning Community
ง. Profile Learning Community
2. PLC ทางการศึกษาย่อมาจากอะไร
ก. ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ข. ชุมชนการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
ค. ชุมชนการเรียนรู้เพื่อชุมชน
ง. ชุมชนแห่งการเรียนรู้
3. บิดาแห่ง PLC หรือ Professional Learning Community คือใคร
ก. Bloom Taxonomy
ข. John Duey
ค. Sixmand Force
ง. Richard Dufour
4. ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพหรือ PLC คือข้อใด
ก. การรวมตัว รวมพลัง ร่วมมือกันของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษา ในโรงเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ
ข. การรวมตัว รวมใจ ร่วมมือกันของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษา ในโรงเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ
ค. การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกันของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษา ในโรงเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ
ง. การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกันของครู ผู้บริหาร และนักเรียน ในโรงเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ
5. Take a baby steps มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. เริ่มต้นด้วยขั้นตอนง่าย ๆ
ข. การวางแผนด้วยความร่วมมือ
ค. การกำหนดความคาดหวังในระดับสูง
ง. เริ่มต้นจากจุดเล็ก ๆ
6. Plan Cooperatively มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. เริ่มต้นด้วยขั้นตอนง่าย ๆ
ข. การวางแผนด้วยความร่วมมือ
ค. การกำหนดความคาดหวังในระดับสูง
ง. เริ่มต้นจากจุดเล็ก ๆ
7. Set high expectations มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. เริ่มต้นด้วยขั้นตอนง่าย ๆ
ข. การวางแผนด้วยความร่วมมือ
ค. การกำหนดความคาดหวังในระดับสูง
ง. เริ่มต้นจากจุดเล็ก ๆ
8. Start small มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. เริ่มต้นด้วยขั้นตอนง่าย ๆ
ข. การวางแผนด้วยความร่วมมือ
ค. การกำหนดความคาดหวังในระดับสูง
ง. เริ่มต้นจากจุดเล็ก ๆ
9. Log book ใน PLC ตรงกับข้อใด
ก. Logbook เป็นสมุดสำหรับบันทึกเหตุการณ์ในการพัฒนาการสอน
ข. Logbook เป็นสมุดสำหรับบันทึกเหตุการณ์ในการพัฒนาตนเอง
ค. Logbook เป็นสมุดสำหรับบันทึกเหตุการณ์ในการพัฒนาโรงเรียน
ง. Logbook เป็นสมุดสำหรับบันทึกเหตุการณ์ในการพัฒนาสังคม
10. Active Learning ตรงกับข้อใด
ก. กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทำ
ข. กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทำและได้ใช้กระบวนการคิด
ค. กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทำและได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เขาได้กระทำลงไป
ง. กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนและครูได้ลงมือกระทำและได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เขาได้กระทำลงไป

ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย 2563 เกี่ยวกับการวัดผลประเมินผล


1.เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ผู้สอนต้อง....ข้อใดถูกต้องที่สุด *
1/1
2.ในการประเมินเพื่อพัฒนาส่วนมากเป็นการประเมินแบบใด *
1/1
3.ตัวชี้วัดมีความสำคัญอย่างไร ข้อใดถูกต้องและตรงตามเกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้มากที่สุด *
1/1
4.การประเมินในชั้นเรียนต้องอาศัยการประเมินผู้เรียนแบบใดเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ *
1/1
5.เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาสูงสุด การกำหนดเกณฑ์การประเมิน ครูผู้สอนสามารถให้ผู้เรียนร่วมกำหนดเกณฑ์การประเมินในชั้นเรียนร่วมกับครูผู้สอนได้ เพื่อให้................. *
1/1
6.ข้อใดเป็นการประเมินอย่างไม่เป็นทางการ *
1/1
7.การตัดสินให้คะแนนหรือให้เป็นระดับคุณภาพควรดำเนินการ........................ *
1/1
8.การตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็นกี่ระดับ *
1/1
9.การตัดสินผลการเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใช้ระบบผ่านและไม่ผ่าน โดยกำหนดเกณฑ์การตัดสินผ่านแต่ละรายวิชาที่ร้อยละเท่าใด *
1/1
10.แนวการให้ระดับผลการเรียนเป็นตัวเลข ความหมายแต่ละระดับ ข้อใดถูกต้อง *
1/1
11.แนวการให้ระดับผลการเรียน เป็นตัวเลข ความหมายแต่ละระดับ ข้อใดถูกต้อง *
1/1
12.แนวการให้ระดับผลการเรียน เป็นตัวเลข ความหมายแต่ละระดับ ข้อใดถูกต้อง *
1/1
13.แนวการให้ระดับผลการเรียน เป็นตัวเลข ความหมายแต่ละระดับ ข้อใดถูกต้อง *
1/1
14.แนวการให้ระดับผลการเรียน เป็นตัวเลข ความหมายแต่ละระดับ ข้อใดถูก *
1/1
15.แนวการให้ระดับผลการเรียน เป็นตัวเลข ความหมายแต่ละระดับ ข้อใดผิด *
1/1
16.ในกรณีที่ไม่สามารถให้ระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับได้ ให้ใช้ตัวอักษรระบุเงื่อนไขของผลการเรียน ดังนี้“มส” หมายถึง *
1/1
17.ในกรณีที่ไม่สามารถให้ระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับได้ ให้ใช้ตัวอักษรระบุเงื่อนไขของผลการเรียน ดังนี้ “ร” หมายถึง..............ข้อใดถูกต้องที่สุด *
1/1
18.กรณีที่นักเรียนไม่ได้วัดผลระหว่างภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ไม่ได้ส่งงานที่มอบหมายให้ทำ ซึ่งงานนั้นเป็นส่วนหนึ่งของการตัดสินผลการเรียน หรือมีเหตุสุดวิสัยที่ทำให้ประเมินผลการเรียนไม่ได้ คุณครูจะต้องให้ผลเรียน........... *
1/1
19.การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น นักเรียนมีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ แต่ยังมีข้อบกพร่องบางประการ ผลการประเมิน คือ *
1/1
20.ในการสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รวมทุกคุณลักษณะเพื่อการเลื่อนชั้นและจบการศึกษา กำหนดเกณฑ์การตัดสินเป็นกี่ระดับ *
1/1
21.กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมีกี่ลักษณะ *
1/1
22.การเปลี่ยนผลการเรียน “0” สถานศึกษาจัดให้มีการสอนซ่อมเสริมในมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดที่ผู้เรียนสอบไม่ผ่านก่อน แล้วจึงสอบแก้ตัวได้ไม่เกินกี่ครั้ง *
1/1
23.ถ้าผู้เรียนไม่ดำเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลาที่สถานศึกษากำหนด ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปได้อีกเท่าใด *
1/1
24.การเปลี่ยนผลการเรียน “0” เมื่อนักเรียนมีการดำเนินการสอบแก้ตัว ครูผู้สอนสามารถให้ผลการเรียนนักเรียนได้ไม่เกิน.......... *
1/1
25.ถ้าสถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการเกี่ยวกับการเปลี่ยนผลการเรียนของผู้เรียน โดยปฏิบัติดังนี้ 1) ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐาน ให้เรียนซ้ำรายวิชานั้น 2) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ให้เรียนซ้ำหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ แสดงว่า นักเรียน.............(กรณีมีผลการเรียน "0") *
1/1
26.การเปลี่ยนผลการเรียน “ร ให้ผู้เรียนดำเนินการแก้ไข “ร” ตามสาเหตุ เมื่อผู้เรียนแก้ไขปัญหาเสร็จแล้วให้ได้ระดับผลการเรียน................. *
1/1
27.ถ้าผู้เรียนไม่ดำเนินการแก้ไข “ร” กรณีที่ส่งงานไม่ครบ แต่มีผลการประเมินระหว่างภาคเรียนและปลายภาคเรียน ครูผู้สอนต้องทำอย่างไร *
1/1
28.กรณีโรงเรียนขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรียน สำหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น เมื่อพ้นกำหนดนี้ไปแล้ว นักเรียนจะต้อง *
1/1
29.การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” มีกี่ กรณี *
1/1
30.กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 แต่มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรียนในรายวิชานั้น สถานศึกษาจะต้อง........ข้อใดถูกต้องที่สุด *
1/1
31.เมื่อผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” ได้รับงานที่มอบหมายให้ทำ จัดให้เรียนเพิ่มเติมจนมีเวลาเรียนครบตามที่กำหนดไว้ ครูผู้สอนให้นักเรียนเข้ารับการวัดผลปลายภาคเป็นกรณีพิเศษ ผลการแก้ “มส” ครูผู้สอนสามารถให้ระดับผลการเรียนได้ไม่เกิน..... *
1/1
32.การแก้ มส ต้องกระทำให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้นถ้าผู้เรียนไม่ดำเนินการในระยะเวลาที่กำหนดผู้เรียนจะต้อง *
1/1
33.กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรียนทั้งหมดสถานศึกษาต้องดำเนินการอย่างไร *
1/1
34.การเรียนซ้ำรายวิชา ผู้เรียนที่ได้รับการสอนซ่อมเสริมและสอบแก้ตัว 2 ครั้งแล้วไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ให้เรียนซ้ำรายวิชานั้น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาในการจัดให้เรียนซ้ำในช่วงใดช่วงหนึ่งที่สถานศึกษาเห็นว่าเหมาะสม เช่น *
1/1
35. ในกรณีภาคเรียนที่ 2 หากผู้เรียนยังมีผลการเรียน “0” “ร” “มส” โรงเรียนจะต้องดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในเวลาใด *
1/1
36.สถานศึกษาอาจเปิดการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อนเพื่อแก้ไขผลการเรียนของผู้เรียนได้ ทั้งนี้ หากสถานศึกษาใดไม่สามารถดำเนินการเปิดสอนภาคฤดูร้อนได้ หน่วยงานใดต้องทำหน้าที่พิจารณาประสานงานให้ดำเนินการแก้ไขผลการเรียนให้กับผู้เรียนในภาคฤดูร้อน *
1/1
37.การเลื่อนชั้นเมื่อสิ้นปีการศึกษา ผู้เรียนจะได้รับการเลื่อนชั้น เมื่อมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด *
0/1
คำตอบที่ถูกต้อง
38.การสอนซ่อมเสริม เป็นการสอนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง กรณีที่ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะกระบวนการ หรือเจตคติ/คุณลักษณะ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง *
1/1
39.ผู้เรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณา ทั้งนี้ ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็นสำคัญ แสดงว่าผู้เรียนจะต้อง.............. *
1/1
40.ลักษณะของการเรียนซ้ำชั้น ข้อใดถูกต้องที่สุด *
1/1
41.ข้อใดไม่ใช่เกณฑ์การจบระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น *
1/1
42.ข้อใดไม่ใช่เกณฑ์การจบระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย *
1/1