แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แบบ 2 มิติ



แนวข้อสอบตรงวิศวะกรรมไฟฟ้า
















เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/

เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/

เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/


เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/

เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/

เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/

เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/

เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/

เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/

เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/

เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/


เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/

เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/


เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/

เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/


เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/

เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/


เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/


เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/


เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/

เฉลยข้อสอบวิชาฟิสิกส์ O-Net ฟิสิกส์ ข้อสอบฟิสิกส์ บทเรียนฟิสิกส์ ฟิสิกส์ออนไลน์ โจทย์ฟิสิกส์ แบบฝึกหัดวิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์ โจทย์วิชาฟิสิกส์        http://thaiphysics.blogspot.com/

ข้อสอบ วิศวะกรรมศาสตร์ คอมพิวเตอร์
















งานและพลังงานความร้อน


งานและพลังงานความร้อน

09
พ.ย.
งานและพลังงานความร้อน


            การใช้พลังงานในชีวิตประจำวัน พลังงานไม่มีตัวตน แต่สามารถทำงานได้ พลังงานมีอยู่ทั่วไป
เช่นเดียวกับสสาร พลังงานเกี่ยวข้องกับมนุษย์มาตั้งแต่สมัยโบราณ ในระยะแรกมนุษย์ใช้พลังงานแสงและพลัง-
งานความร้อนจากดวงอาทิตย์ ต่อมาจึงใช้พลังงานจากสัตว์ พลังงาน จากการเผาไหม้เชื้อเพลิง

            พลังงาน คือ ความสามารถที่จะทำงานได้ งาน คือ ผลจากการกระทำของแรงซึ่งทำให้วัตถุเคลื่อนที่ไป
สิ่งใดก็ตามที่สามารถทำให้ วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวของแรงหรือเปลี่ยนตำแหน่งเปลี่ยนทิศทางในการเคลื่อนที่
หรือหยุดการเคลื่อนที่ได้ สิ่งนั้นย่อมมีพลังงาน3
.



คุณสมบัติทั่วไปของพลังงานมี 2 ประการ คือ

          1. สามารถทำงานได้
          2. สามารถเปลี่ยนรูปได้

      ความสามารถในการทำงานของพลังงานมีทั้งทางตรงและทางอ้อมกรณีที่
พลังงานกล้ามเนื้อทำให้เรามีแรงเคลื่อนย้าย วัตถุได้ถือว่าเป็นตัวอย่างที่แสดงถึง
ผลทางตรงของพลังงงานกล้ามเนื้อ กรณีที่พลังงานความร้อนทำให้น้ำกลายเป็น
ไอแล้วความดันของได้น้ำไปขับให้เครื่องกลทำงานได้เป็นตัวอย่างที่แสดงว่าการ
ทำงานของเครื่องกลเป็นผลทางอ้อมของพลังงานความร้อนที่ให้แก่น้ำ





           ค่าของพลังงานที่ใช้ไปวัดได้จากค่าของงานที่เกิดขึ้นซึ่งมีค่าเท่ากับผลคูณของแรง
ที่กระทำต่อวัตถุกับระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวแรงเนื่องจากการใช้พลังงาน
แต่ละครั้งจะทำให้เกิดงานมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับองค์ประกอบสองอย่าง คือ แรงที่ใช้
กับระยะทางที่วัตถุถูกกระทำให้เคลื่อนที่ไป โดยทั่วไปแล้วหน่วยของงานคือ จูล



รูปแบบของพลังงาน

     1. พลังงานจลน์ ขณะที่วัตถุกำลังเคลื่อนที่จะมีพลังงานจลน์เกิดขึ้น วัตถุใด ๆก็ตามไม่ว่าจะมีขนาดเล็กหรือ
ขนาดใหญ่ล้วนมีพลังงานจลน์ทั้งสิ้น ขณะที่มีการเคลื่อนที่ วัตถุใดมีความเร็วมากขึ้นก็จะมีพลังงานจลน์มากขึ้น
วัตถุสองอันที่มีความเร็วเท่ากัน วัตถุที่มีมีมวลมากกว่าจะมีพลังงานจลน์มากกว่า
      2. พลังงานศักย์ คือพลังงานที่วัตถุมีเนื่องตำแหน่งหรือการจัดการของวัตถุนั้น หรืออาจจะบอกได้ว่า เป็น
พลังงานในขณะที่วัตถุหยุดนิ่งนั้นเอง
      นอกจากนี้ยังมีพลังงานรูปอื่นอีก เช่น พลังงานความร้อน พลังงานแสง    พลังงานเสียง  พลังงานเคมี ฯลฯ
ซึ่งพลังงานเหล่านี้จะเกี่ยวข้องในกิจกรรมในชีวิตประจำวันของนักเรียนและพลังงานเหล่านี้สามารถเปลี่ยนรูป

ที่มา  http://www.jv.ac.th/webteacher/Teacher_R/S_1.html

ความปลอดภัยในการทำงาน

ความปลอดภัยในการทำงาน 09 พ.ย. ความปลอดภัยในการทำงาน ในการทำงานของมนุษย์เรานั้น ไม่ว่าจะเป็นงานบ้าน หรืองานในอาชีพก็ตาม คงไม่มีใครที่จะปฏิเสธว่า ตัวเองไม่เคบประสบอุบัติเหตุจากการทำงาน อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้เสมอ ถ้าหากขาดความระมัดระวัง หรือประมาท อุบัติเหตุจากการทำงานทำให้เกิดการบาดเจ็บ ซึ่งมีตั้งแต่บาดเจ็บเล็กน้อย จนถึงบาดเจ็บสาหัส ที่ทำให้เกิดความพิการ หรือสูญเสียชีวิต นอกจากนี้ยังทำให้สูญเสียเวลาการทำงาน ขวัญและกำลังใจของเพื่อนร่วมงาน อุบัติเหตุจากการทำงานในโรงพยาบาลที่พบ มีหลายประเภท ได้แก่ การบาดเจ็บที่บริเวณหลัง ซึ่งมีสาเหตุจากการเคลื่อนย้ายวัสดุที่มีน้ำหนักเกินกำลัง ตัวอย่างเช่น การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หรือการนั่งทำงานอยู่กับที่เป็นเวลานาน การลื่น และหกล้ม ซึ่งมีสาเหตุจากพื้นลื่น เปียก หรือพื้นผิวทางเดินไม่เรียบ การบาดเจ็บจากการถูกบาด ตำ ซึ่งมีสาเหตุจากการสัมผัสวัตถุมีคม เช่น เข็มฉีดยา ใบมีด เศษแก้วแตก เป็นต้น การถูกไฟฟ้าดูด ซึ่งมีสาเหตุจากการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ชำรุด มีกระแสไฟฟ้ารั่ว หรือใช้ในสภาวะไม่เหมาะสม เช่น มือเปียกชื้น ทำให้ถูกไฟฟ้าดูด ส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บ และอาจสูญเสียชีวิตได้ การระเบิดและรั่วไหลของสารเคมี ซึ่งมีสาเหตุจากการเคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุสารเคมี และการจัดเก็บสารเคมีไม่ถูกต้อง การออกแรงยกของที่มีน้ำหนักเกินกำลัง และการทำงานอยู่กับที่ แหล่งที่พบ โรงครัวที่ให้บริการอาหาร ผู้ปฏิบัติงานต้องยก และเคลื่อนย้ายถาดอาหารจำนวนมาก แผนกแม่บ้านทำความสะอาด โดยใช้เครื่องขัดพื้นขนาดใหญ่ กวาด และถูพื้น สำนักงานซึ่งผู้ปฏิบัติงานต้องนั่งทำงานตลอดเวลา โดยเก้าอี้นั่มิได้รับการออกแบบที่เหมาะสม โรงซักรีด งานซ่อมบำรุง หอผู้ป่วย / หน่วยฉุกเฉิน ซึ่งมีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ผลต่อสุขภาพ โรคไส้เลื่อน (Hernias) ซึ่งมีสาเหตุมาจากการยกของหนัก หรือออกแรงเต็มที่ ทำให้เพิ่มความดันภายในช่องท้อง หรือบริเวณท้อง เนื้อเยื่อบริเวณท้องถูกเคลื่อนที่ไปยังบริเวณที่อ่อนกำลังกว่า ทำให้เกิดอาการปวดบวมของถุงอัณฑะ ช่องท้องส่วนล่าง หรือหน้าแข้ง โรคปวดหลัง ซึ่งมีสาเหตุมาจากการเคลื่อนย้าย และยกของไม่ถูกวิธี การยกของเกินกำลัง การเกร็งตัวขณะทำงาน การป้องกันโรคปวดหลัง ใช้เครื่องจักรกลช่วยในการยกผู้ป่วย หรือเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ วัตถุ ซึ่งมีน้ำหนักมาก แทนการใช้กำลังคน หรือใช้อุปกรณ์ที่มีล้อเลื่อนในการเคลื่อนย้ายวัตถุ จัดจำนวนคนที่เหมาะสมในการทำงาน ที่ต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วย และวัตถุที่มีน้ำหนักมาก ให้ความรู้ คำแนะนำ แก่ผู้ปฏิบัติงานที่ต้องออกแรงยกของ ที่มีน้ำหนัก เช่น เทคนิคการยกของที่ถูกวิธี และเหมาะสม การป้องกันการปวดหลังในระยะเริ่มทำงาน การบริหารหลัง และร่างกาย เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อหลังแข็งแรง และป้องกันโรคปวดหลัง วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย เพื่อป้องกันโรคปวดหลัง การขอความช่วยเหลือกรณีที่เห็นว่า งานที่ทำโดนลำพังอาจก่อให้เกิดการเคล็ดยอกหลัง การป้องกันอันตราย อุบัติเหตุต่างๆ ที่มีสาเหตุจากพื้นเปียกลื่น สิ่งกีดขวางทางบันไดทางเดิน บันไดพาด เป็นต้น ตรวจสุขภาพก่อนทำงาน เพื่อคัดเลือกคนที่เหมาะสมกับงาน ถ้าพบผู้มีปัญหาเกี่ยวกับหลัง ก็ไม่ควรให้ทำงานในหน้าที่ที่ต้องยกของหนัก ประวัติการเจ็บป่วย โดยเฉพาะโรคปวดหลัง จะเป็นข้อมูลพื้นฐานในการ ไม่คัดเลือกคนเหล่านี้มาทำงานในหน้าที่นี้ การตรวจสุขภาพก่อนทำงาน โดยการ X-ray ไม่สามารถที่จะบ่งชี้ได้ว่า คนๆ นั้น จะมีอาการของโรคปวดหลัง ควรใช้วิธีการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Strength) ก่อนเข้าทำงาน อัคคีภัย และภัยพิบัติ อัคคีภัย หมายถึง อันตรายจากเพลิงไหม้ ภัยพิบัติ (Diaster) หมายถึง อุบัติภัยขนาดใหญ่ อันทำให้เกิดการบาดเจ็บ ล้มตาย และสูญเสียทรัพย์สินเป็นจำนวนมาก อัคคีภัย และภัยพิบัติ เป็นสิ่งที่อาจเกิดขึ้นได้ในโรงพยาบาล และเมื่อไรที่เกิดเหตุการณ์นี้ขึ้น จะต้องมีการอพยพผู้ป่วย ผู้ที่ทำหน้าที่อพยพผู้ป่วย จะต้องสามารถดูแล และคุ้มครองตนเองให้เกิดความปลอดภัย จากการทำงานดังกล่าว หรือผู้ปฏิบัติงานอื่นก็สามารถดุแลตนเอง ให้ปลอดภัยจากเพลิงไหม้ได้ สาเหตุของการเกิดอัคคีภัยในโรงพยาบาล จากความประมาทเลินเล่อ หรือขาดความระมัดระวัง ทำให้สิ่งที่เป็นเชื้อเพลิง เช่น ไม้ขีดไฟ บุหรี่ แพร่กระจายจนเกิดความร้อน และเป็นสาเหตุของอัคคีภัย การใช้เครื่องมือเครื่องใช้ไฟฟ้าผิดประเภท ชำรุด มีขนาดไม่เหมาะสมกับปริมาณกระแสไฟฟ้า ทำให้เกิดเพลิงไหม้จากไฟฟ้าลัดวงจร การขาดความเป็นระเบียบในการจัดเก็บอุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า การขนถ่ายวัตถุไวไฟ ตลอดจนการใช้ และการเก็บวัตถุไวไฟที่ไม่ถูกต้อง แหล่งที่พบ ห้องพักผู้ป่วย มีการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าชำรุด เช่น สายไฟที่ฉนวนหุ้มเปื่อย ทำให้เกิดประกายไฟฟฟ้า ซึ่งมีความร้อนสูง หรือผู้ป่วย ญาติผู้ป่วยที่มาเยี่ยม สูบบุหรี่แล้วทิ้งมวนบุหรี่ที่ยังไม่ดับ ถูกวัสดุที่เป็นเชื้อเพลิงติดไฟง่าย เช่น ผ้าม่าน ที่นอน เฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น และทำให้เกิดการลุกลามของไฟ บริเวณที่เก็บของ ต้องแยกวัตถุที่เป็นอันตรายออก โดยเฉพาะวัตถุไวไฟ ก๊าซภายใต้ความดัน น้ำมัน สารตัวทำละลาย เป็นต้น ห้องปฏิบัติการที่มีการใช้สารเคมี และก๊าซต่างๆ ที่ติดไฟง่าย ผลต่อสุขภาพ การเกิดอัคคีภัย ทำให้เกิดการบาดเจ็บ เช่น บาดเจ็บจากการถูกไฟลวก ไฟไหม้ที่อวัยวะต่างๆ บาดเจ็บจากการกระโดดหนีไฟ การทำให้เกิดการสูญเสียชีวิต เนื่องจากความร้อย แรงระเบิด การขาดอากาศหายใจ และการหายใจเอาควันพิษต่างๆ เข้าไป จนทำให้ระบบต่างๆ ของร่างกายทำงานผิดปกติ และในที่สุดทำให้ถึงแก่ชีวิตได้ การป้องกันและควบคุม จัดให้มีระบบป้องกัน และระงับอัคคีภัย ได้แก่ การจัดเจ้าหน้าที่รักษาสถานที่ในเวลาทำงาน และนอกเวลาทำงาน โดยต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ดีพอ ในเรื่องการประสานงานเมื่อเกิดเพลิงไหม้ วิธีการใช้เครื่องดับเพลิง จุดที่ตั้งของกระแสไฟฟ้าสำรอง เมื่อถูกตัดกระแสไฟฟ้าในขณะเพลิงไหม้ การจัดให้มีอุปกรณ์ดับเพลิงติดตั้งตามจุดต่างๆ ให้เหมาะสม และสะดวกในการหยิบใช้งาน และมีจำนวนที่เพียงพอ ซึ่งพร้อมที่จะใช้งานได้ตลอดเวลา มีการกำหนดตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ดับเพลิง อย่างน้อย 6 เดือนต่อครั้ง กรณีที่เป็นอาคารสูง มีหัวประปาดับเพลิง และท่อเมนของการประปาที่ใช้ในการดับเพลิง หัวท่อรับน้ำ การเตรียมน้ำสำรอง ในการดับเพลิง และคำนึงถึงการสูญสเยีน้ำในการดับเพลิงด้วย การดูแล และเก็บรักษาวัตถุไวไฟ ก๊าซภายใต้ความดัน และสารเคมีอื่นๆ อย่างเหมาะสม และปลอดภัย การกำจัดของเสียที่ติดไฟง่าย การติดตั้งระบบสัญญาณเตือนภัย และแจ้งเหตุเพลิงไหม้ การจัดทำทางหนีไฟให้พร้อม และเพียงพอกับจำนวนคนที่จะต้อง หนีไฟออกไปสู่ภายนอกได้ทันท่วงที มีป้ายบอกทาง ไม่มีสิ่งกีดขวางทางหนีไฟ ห้ามใช้ลิฟท์ขณะเพลิงไหม้ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย และผู้ปฏิบัติงานที่อยู่ในบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้ ออกไปโดยปลอดภัย การจัดอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาล เพื่อสามารถนำไปใช้ได้ทันท่วงที และลดความรุนแรงของอันตรายที่อาจเกิดขึ้น จัดให้มีแผนป้องกัน และระงับอัคคีภัย เริ่มตั้งแต่การจัดทำแผน การวางระบบการรับเหตุฉุกเฉิน การดำเนินการตามขั้นตอน เมื่อเกิดเหตุ และหลังเกิดเหตุ นอกจากนี้ควรมีแผนปฏิบัติการ เช่น การตรวจตราสถานที่ต่างๆ การอบรมผู้เกี่ยวข้อง ในการป้องกันระงับอัคคีภัย การฝึกซ้อมการหนีไฟ การตรวจสอบระบบสัญญาณเตือนไฟ เป็นต้น อันตรายจากก๊าซภายใต้ความดัน (Compressed gas) ก๊าซภายใต้ความดันส่วนใหญ่ เป็นก๊าซที่มีคุณสมบัติติดไฟ เป็นพิษ ทำให้เกิดการระคายเคือง ทำให้หมดสติ และทำให้เกิดการระเบิด ก๊าซถูกอัดภายใต้ความดัน และบรรจุในภาชนะเฉพาะนั้น ในการเคลื่อนย้ายจะต้องทำด้วยความระมัดระวัง ก๊าซภายใต้ความดันที่ใช้ในโรงพยาบาล มีหลายชนิด ได้แก่ อะเซทีลีน แอมโมเนีย ก๊าซที่ใช้ในการดมยา อาร์กอน คลอรีน เอทีลีนออกไซด์ ฮีเลี่ยม ออกซิเจน ไฮโดรเจน เมทีลคลอไรด์ ไนโตรเจน ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เป็นต้น ซึ่งก๊าซเหล่านี้มีก๊าซไวไฟอยู่หลายชนิด เช่น อะเซทีลีน เอทีลีนออกไซด์ เมทีลคลอไรด์ และไฮโดรเจน แหล่งที่พบ หน่วยจ่ายกลาง (Central supply) มีการใช้ก๊าซเอทีลีนออกไซด์ ห้องผ่าตัด ใช้ก๊าซดมยา ห้องผู้ป่วยฉุกเฉิน ใช้ก๊าซออกซิเจน ห้องปฏิบัติการ ซึ่งใช้ก๊าซไนโตรเจน ไฮโดรเจน ฮีเลี่ยม งานซ่อมบำรุง ใช้ก๊าซอะเซทีลีน ผลต่อสุขภาพ อันตรายจากการใช้ก๊าซภายใต้ความดัน ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติความเป็นพิษของก๊าซที่ใช้ การจัดเก็บสารเคมีที่ไม่ถูกต้อง การเคลื่อนย้ายที่ไม่ถูกต้อง และการเกิดการกระแทกอย่างแรง ขณะเคลื่อนย้าย จะทำให้เกิดการระเบิด เกิดเพลิงไหม้ ผลที่ตามมาคือ การบาดเจ็บ และสูญเสียชีวิตของผู้ปฏิบัติงาน และผู้อยู่ข้างเคียง ข้อควรระวังเกี่ยวกับการเก็บ และเคลื่อนย้ายก๊าซภายใต้ความดัน ถังก๊าซภายใต้ความดันทุกถัง ควรอยู่ในสภาพที่ปลอดภัย และไม่ควรวางถังก๊าซติดกัน ถังก๊าซภายใต้ความดัน สามาถเก็บได้ในที่โล่งแจ้ง ไม่ถูกแสงแดดโดยตรง หรือห่างจากแหล่งความร้อน หรือรังสีความร้อนที่สามารถแผ่ไปถึงได้ ไม่เก็บถังก๊าซเปล่าใกล้กับถังก๊าซที่บรรจุก๊าซเต็ม ไม่ให้ถังก๊าซอยู่ใกล้ หรือสัมผัสเปลวไฟ หรือกระแสไฟฟ้า ไม่เก็บถังก๊าซภายใต้ความกันชนิดไวไฟ แลไม่ไวไฟไว้ในที่เดียวกัน ไม่สูบบุหรี่ในบริเวณที่มีการเก็บถังก๊าซ ภายใต้ความดัน และมีป้ายเตือนห้ามสูบบุหรี่ ขณะที่มีการเคลื่อนย้าย หรือจัดวางถังก๊าซภายใต้ความอัน ไม่ควรกระแทกถังก๊าซด้วยกัน ไม่ควรกลิ้ง ลาก ถังก๊าซ ภายใต้ความดันขณะเคลื่อนย้าย ระมัดระวังทำมิให้ถังก๊าซภายใต้ความดัน ล้มกระแทก ทำให้วาล์วชำรุด หรือถังแตกร้าว ควรตรึงถังก๊าซให้อยู่กับที่ ขณะเคลื่อนย้ายถังก๊าซภายใต้ความดัน ต้องแน่ใจว่าวาล์ว และจุดต่อไม่ชำรุด การป้องกันและควบคุม การให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงาน และผู้เกี่ยวข้องในเรื่อง อันตรายจากก๊าซภายใต้ความดัน การใช้ การเคลื่อนย้าย และการจัดเก็บถังก๊าซภายใต้ความดัน การใช้และเคลื่อนย้ายถังก๊าซภายใต้ความดัน จำเป็นต้องดำเนินการโดยผู้ที่ได้รับการฝึกอบรมมาแล้ว และให้ปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำหนด เพื่อความปลอดภัย การจัดเก็บถุงก๊าซภายใต้ความดัน ควรเก็บในที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี อยู่ในอาคารป้องกันไฟ มีประตูหนีไฟ มีระบบแสงที่มีสวิตช์ไฟฟ้าป้องกันไฟได้ อุณหภูมิที่จัดเก็บไม่ควรเกิน 125ºF ไม่ควรอยู่ใกล้ท่อไปน้ำ ท่อน้ำร้อน หม้อไอน้ำ วัตถุไวไฟสูง ของเสียที่ติดไฟ บริเวณที่มีการเชื่อม หรือบริเวณอื่นใดที่มีแหล่งความร้อน จนเป็นสาเหตุของการติดไฟ อันตรายจากอุปกรณ์ไฟฟ้า (Electrical eqipment) อุปกรณ์ไฟฟ้า หมายถึง เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า หรือเป็นส่วนประกอบที่ใช้เกี่ยวเนื่องกับไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า ที่ใช้ในโรงพยาบาล ได้แก่ เครื่องตรวจคลื่นหัวใจ เครื่องตรวจคลื่นสมอง เครื่องดูดของเสียออกจากร่างกาย เครื่องปั่นให้สารตกตะกอน (Centrifuge) ตู้เย็น หม้อต้มน้ำร้อนขนาดใหญ่ เป็นต้น แหล่งที่พบ อันตรายจากการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า จะพบได้ทุกพื้นที่ของโรงพยาบาลที่มีการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น หน่วยที่ดูแลคนไข้ทั่วไป หน่วยดูแลคนไข้พิเศษ ห้องฉุกเฉิน หน่วยบำรุงรักษา หน่วยบริการ ส่วนเตรียมอาหาร และหน่วยวิจัย เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ส่วนเตรียมอาหาร และบริเวณที่ทำงานซึ่งเปียกชื้น ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษในเรื่อง การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า การใช้ และการดูแลผู้ที่ปฏิบัติงาน ณ ที่นั้น ผลต่อสุขภาพ อัตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า คือ การถูกไฟฟ้าดูด ไฟฟ้าลัดวงจร การเกิดเพลิงไหม้ ซึ่งทำให้เกิดการบาดเจ็บ พิการ หรือสูญเสียชีวิตได้ โดยมีสาเหตถมาจาก การใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ชำรุด หรือมีกระแสไฟฟ้ารั่ว โดยที่ฉนวนหุ้มสายไฟฟ้าฃำรุดเสียหาย หรือเสื่อมคุณภาพ การทำงานในสภาพแวดล้อมที่เปียกชื้อ ซึ่งจะทำให้ร่างกายเป็นสื่อนำไฟฟ้าได้ดี การต่อสายไฟไม่ดี ไม่มีการตัดวงจรไฟฟ้า การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าผิดลักษณะ การเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าไม่ถูกต้อง เช่น การใช้เต้าเสียบผิดประเภท ผู้ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าขาดความรู้ เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้า ขาดความระมัดระวังในการใช้ ข้อควรระวัง ช่างไฟฟ้า และบุคลากรที่รับผิดชอบงาน ด้านการบำรุงรักษาไฟฟ้า และบุคคลทั่วไป ควรทราบข้อควรระวัง เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า คือ อุปกรณ์ไฟฟ้า ควรต่อเปลือกหุ้มที่เป็นโลหะ ของเครื่องมือนั้นลงดิน อุปกรณ์ไฟฟ้า เมื่อถูกนำมาใช้งานในสภาพที่ไม่ปกติ เช่น ที่เปียกชื้น ที่มีความต่างศักย์เกิน 150 โวลท์ บริเวณที่มีอันตรายก็ควรต่อลงดินเช่นเดียวกัน ควรตรวจสอบสายไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ โดยเฉพาะตรงบริเวณข้อต่อ ขั่วที่ติดอุปกรณ์ หากพบว่าชำรุด ให้รีบดำเนินการแก้ไข อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดเคลื่อนที่ได้ ควรได้รับการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ และรักษาให้อยู่ในสภาพที่ดีตลอดเวลา ไม่ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าขณะมือเปียกน้ำ ส่วนของอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่อาจก่อให้เกิดอันตราย ควรมีป้ายแขวนเตือน การใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าบางชนิด เช่น มอเตอร์ หม้อแปลง ควรมีผู้รับผิดชอบในการควบคุมการใช้ ไม่ปลดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าออก ยกเว้นกรณีที่ได้รับอนุญาตแล้วเท่านั้น ถ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าทำงานผิดปกติ ควรสับสวิตช์ให้วงจรำฟฟ้าเปิด แล้วแจ้งให้ผู้รับผิดชอบทราบ ทุกครั้งหลังใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า ควรสับสวิตช์ให้วงจรไฟฟ้าเปิด ไม่นำสารไวไฟ หรือสารที่ติดไฟง่าย เข้าใกล้บริเวณสวิตช์ไฟฟ้า เมื่อเกิดไฟฟ้าดับ หรือมีผู้ได้รับอุบัติเหตุจากไฟฟ้า ต้องรีบสับสวิตช์ให้วงจรไฟฟ้าเปิด เมื่อเกิดไฟฟ้าลัดวงจร ทำให้เกิดไฟไหม้ ต้องรีบสับสวิตช์ให้วงจรไฟฟ้าเปิด แล้วทำการดับไฟด้วยเครื่องดับเพลิง ชนิดสารเคมี ไม่ควรใช้น้ำ หรือเครื่องดับเพลิงที่เป็นชนิดน้ำ ทำการดับไฟ ไม่ควรเดินเหยียบสายไฟฟ้า การป้องกัน และควบคุม การออกแบบ และการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า ให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ใช้ไฟฟ้า และต่อผู้ปฏิบัติงาน เช่น บริเวณที่เตรียมอาหาร จะมีพื้นที่บางส่วนเปียกชื้นตลอดเวลา การติดตั้ง และใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ปลอดภัย จึงเป็นสิ่งจำเป็น ได้แก่ ติดตั้งเครื่องตัดวงจรอัตโนมัติ เมื่อมีไฟฟ้ารั่วลงดิน อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ให้ประสิทธิผลมาก คือ Ground Fault Circuit Interupter หรือเรียกว่า GFI หลักการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้านี้ คือ จะขัดขวางวงจรกระแสไฟฟ้า ก่อนที่กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านมาที่คน อุปกรณ์นี้ราคาไม่แพง และควรติดตั้งโดยผู้มีความรู้ ใช้กล้องใส่อุปกรณ์ไฟฟ้า ที่ทำด้วยวัสดุไม่นำไฟฟ้า ปลั๊กเสียบ และเต้าเสียบ ควรออกแบบให้เหมาะกับการใช้งานในที่เปียกชื้น แผงไฟฟ้า ควรมีป้ายบอกชัดเจน ถึงทางออกของเครื่องตัดวงจรไฟฟ้า เช่น breaker หรือ fuse และ breaker switch ไม่ควรนำมาใช้เป็นสวิตช์ เปิด-ปิดไฟ กล่อง cut out ที่ตั้งอยู่ในบริเวณที่ชื้น หรือเปียก ควรมีคุณสมบัติป้องกันความชื้นเข้าไปภายในกล่อง กล่องควรตั้งอย่างน้อย ให้มีช่องว่างห่างจากผนัง 0.25 นิ้ว และกล่องจะต้องทำด้วยวัสดุไม่นำไฟฟ้า การอบรมให้ความรู้ กับผู้ที่ปฏิบัติงาน หรือรับผิดชอบไฟฟ้า ในเรื่องวิธีการทำงานให้ปลอดภัยกับไฟฟ้า การช่วยเหลือผู้ป่วยที่ถูกกระแสไฟฟ้า วิธีการขอความช่วยเหลือฉุกเฉินในโรงพยาบาล ข้อควรระมัดระวังเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงอันตราย ที่จะเกิดจากการทำงาน หรือสัมผัสกระแสไฟฟ้า ที่เป็นสาเหตุให้เกิดอาการช็อค เนื่องจากกระแสไฟฟ้า

PROJECTILE การเคลื่อนที่วิถีโค้ง


PROJECTILE การเคลื่อนที่วิถีโค้ง

03
ก.ย.
การเคลื่อนที่วิถีโค้ง (Projectile)

การคำนวณ Projectile แบบต่าง ๆ

1.     เมื่อขว้างหินก้อนหนึ่งด้วยความเร็วต้น 20 เมตร/วินาที พบว่าหินก้อนนี้ตกถึงพื้นราบด้วยความเร็วที่ทำมุม 30o กับแนวดิ่ง หินก้อนนี้จะขึ้นไปได้สูงสุดเท่าใด (1.5 เมตร)
2.     ขว้างวัตถุในแนวราบด้วยความเร็วต้น 15 เมตร/วินาที  จากขอบหน้าผาสูง 20 เมตร ไปตกบนพื้นข้างล่าง ก้อนหินจะตกห่างจากหน้าผากี่เมตร (30 เมตร)
3.     กระสุนปืนถูกยิงออกไปในแนวราบจากหน้าผ้าสูง 160 เมตร โดยมีความเร็วต้น 20 เมตร/วินาที ความเร็วของกระสุนปืนที่ตกถึงพื้นเป็นกี่เมตรต่อวินาที (60 m/s)
4.     นักเรียนคนหนึ่งยืนบนดาดฟ้าตึกห้าชั้นสูง 75 เมตร แล้วปาก้อนหินลงมาทำมุม 30๐กับแนวระดับด้วยความเร็ว 20 m/s จงหาว่านานเท่าไหร่ก้อนหินจึงจะตกลงถึงพื้น
5.     ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนดาดฟ้าห้าชั้นสูง75 เมตร แล้วปาก้อนหินลงมาทำมุม 30o กับแนวระดับด้วยความเร็ว 20 เมตร/วินาที จงหาว่านานเท่าใดก้อนหินตกลงถึงพื้นดิน (3 วินาที)
6.     **007 ขี่รถตุ๊กตุ๊ก ข้ามคลองกว้าง 5 เมตร ทำมุม 45๐ ไปยังฝั่งตรงข้ามซึ่งสูงกว่า ถ้าขับรถด้วยความเร็ว 5 m/s แล้วจะข้ามฝั่งได้พอดี จงหาความสูงของตลิ่งอีกฝั่งหนึ่ง (2.5 เมตร)
7.     **อาราเร่ขว้างอุนจิด้วยความเร็ว 50 m/s ทำมุม 30๐กับแนวราบไปยังซุปเปอร์แมนที่บินอยู่ห่างออกไป 174 เมตร และสูงจากพื้น 35 เมตร (ค)
ก.       ซุปเปอร์แมนโดนอุนจิ
ข.       ซุปเปอร์แมนไม่โดนอุนจิ เพราะขว้างไม่ถึง
ค.       ซุปเปอร์แมนไม่โดนอุนจิ เพราะขว้างต่ำไป
ง.       ซุปเปอร์แมนไม่โดนอุนจิ เพราะขว้างสูงไป
8.     ขว้างลูกบอลทำมุม 45๐กับแนวระดับ ปรากฏว่าลูกบอลลอยข้ามกำแพงสูง 10 เมตร ซึ่งอยู่ห่างจากจุดขว้างในแนวระดับเท่ากับ 60 เมตรพอดี อยากทราบว่า ณ จุดสูงสุดของแนวทางการเคลื่อนที่นั้น ลูกบอลอยู่สูงจากแนวระดับกี่เมตร (18 เมตร)
9.     ลูกกระสุนปืน 3 ลูก มีมวลเท่ากัน ถูกยิงขึ้นไปในอากาศด้วยความเร็วต้น u เท่ากัน ในทิศทำมุม 15 o,  30o และo 70o  ตามลำดับ  จงพิจารณาว่า กราฟใดจึงจะแสดงถึงลักษณะการเคลื่อนที่ของลูกปืนทั้งสามได้ดีที่สุด (รูป 2)
10.  ชายคนหนึ่งขว้างวัตถุขึ้นจากพื้นทำมุม 12ฮธ"> กับแนวระดับ พบว่าผลคูณของอัตราเร็วต้นในแนวระดับกับอัตราเร็วต้นในแนวดิ่งมีค่า 100 เมตร2  ต่อวินาที 2  อยากทราบว่าเมื่อวัตถุตกถึงพื้น จะมีระยะทางในแนวราบเท่ากับเท่าใด (20 เมตร)
11.  เสาธงสูง 10 เมตร ชายคนหนึ่งยืนห่างจากโคนเสาธงเป็นระยะ 20 เมตร จะต้องปาก้อนกินด้วยความเร็วเท่าใด หินจึงจะข้ามยอดเสาธงได้พอดี (20m/s)
12.  **ลูกกอล์ฟ 2 ลูก ถูกตีให้เคลื่อนที่ขึ้นไปด้วยอัตราเร็วเริ่มต้นเท่ากับ V๐เท่ากัน โดยลูกที่ 1 ทำมุม 12ฮธ"> และ ลูกที่ 2 ทำมุม 90๐- 12 ฮธ"> กับแนวราบ ถ้า h1 และ h2 เป็นจุดที่สูงที่สุดที่ลูกกอล์ฟเคลื่อนที่ขึ้นไปตามลำดับ จงหา h1 : h2 (tan2 12ฮธ"> )
13.  วิศวกรคนหนึ่งต้องการตีลูกกอล์ฟให้ข้ามต้นไม้ ซึ่งสูง 30 เมตรและอยู่ห่างออกไป 40 เมตร ไปให้ลงหลุมพอดี โดยหลุมอยู่ห่างออกไป 80 เมตร ถามว่าต้องตีลูกกอล์ฟไป ณ ทิศทำมุมเท่าใดกับแนวระดับ (ตอบ ก.)
ก.       tan -1 12(32)">         ข.   45o                       ค.   tan -1 12(34)">                     ง.   60o

การคำนวณ Projectile บนพื้นเอียง

14.  ชายคนหนึ่งโยนลูกบอลจากยอดพื้นเอียงด้วยความเร็ว 20 m/s เอียงทำมุม 30o กับแนวระดับ ถ้าพื้นเอียงนั้นเอียงลง 30o จากแนวระดับเช่นกัน จะใช้เวลาเท่าใด ลูกบอลจึงจะตกกระทบพื้นเอียงนับจากเริ่มโยน (4 วินาที)
15.  จากรูปจงหาระยะ AB ใช้ g = 9.8 m/s2   (490 เมตร)
16.  ลูกยางกลมถูกขว้างลงมาบนพื้นเอียง 30๐ที่จุด A ทำให้ลูกยางสะท้อนขึ้นทำมุมกับแนวดิ่ง 30๐และถ้าลูกยางไปตกที่จุด B ซึ่งอยู่ห่างกัน 4 เมตรขนานตามแนวราบ จงหา
16.1.ความเร็วต้นที่จุด A (5.88 m/s)
16.2.เวลาที่ใช้จาก A ไป B (1.36 s)
17.  **ถ้าต้องการยิงระเบิดด้วยเครื่องยิงระเบิด M203 โดยมีอัตราเร็วต้น V0 ในทิศตั้งฉากกับพื้นเอียงซึ่งเอียงทำมุม 30o กับแนวราบ ปรากฏว่าระเบิดตกบนพื้นเอียง ห่างจากจุดเริ่มต้น 10 เมตร จงหาว่า จะมีเวลาหนีเท่าไหร่ก่อนระเบิดตกถึงพื้น (2 วินาที)




โจทย์เสริม

1.               ลูกระเบิดถูกปล่อยออกมาจากเครื่องบิน ซึ่งบินอยู่ในแนวระดับด้วยอัตราเร็ว 300 m/s และอยู่สูงจากพื้นดิน 2,000 เมตร จงหาว่าลูกระเบิดจะตกถึงพื้นดิน ณ ตำแหน่งที่ห่างจากจุดทิ้งระเบิดตามแนวระดับกี่เมตร  (6,000 เมตร)
2.               ขว้างก้อนหินหนัก 0.5 กก. ด้วยความเร็ว 10 m/s จากหน้าผาสูงจากระดับน้ำทะเล 5 เมตร ความเร็วของก้อนหินกระทบน้ำมีค่าเท่ากับกี่เมตร/วินาที ( 33.17 m/s)
3.               ยิงกระสุนปืนมวล 50 กรัม ด้วยความเร็วต้น 100 m/s ทำมุม60o กับแนวระดับ หลังจากนั้น 5 วินาที กระสุนตกกระทบเป้าบนหน้าผา  ผานั้นอยู่สูงจากพื้นระดับที่ยิงเท่าไร (308 เมตร)
4.               เครื่องบินกำลังบินขึ้นทำมุม tan-1   กับแนวระดับด้วยความเร็วคงที่ 50 m/s ขณะที่บินสูง 200 เมตรจากพื้นดิน  นักบินทิ้งวัตถุกล่องหนึ่งลงมา ถามว่า เมื่อวัตถุตกถึงพื้นดินนั้น เครื่องบินอยู่สูงจากพื้นดินเท่าไร ถ้าเครื่องบินไม่เปลี่ยนทิศทาง (500 m)
5.               ลูกปิงปองกระเด็นทำมุมเงย 30o กับแนวระดับจากขอบโต๊ะซึ่งสูง 1 เมตร ด้วยอัตราเร็ว 4 m/s จงหาอัตราเร็วของลูกปิงปอง ขณะที่อยู่สูงจากพื้น 0.55 เมตร (5 m/s)
6.               ถ้าโพรเจกไทล์หนึ่งมีการกระจัดสูงสุดในแนวดิ่งเท่ากับ 10 เมตร และการกระจัดที่ไปได้ไกลสุดในแนวระดับเท่ากับ 30 เมตร โพรเจกไทล์นี้จะต้องถูกยิงออกไปในแนวที่ทำมุมกี่องศากับแนวระดับ (53 องศา)
7.               ทอมยืนอยู่บนพื้นสนามราบ เขาขว้างลูกบอลขึ้นไปในอากาศ ลูกบอลลอยอยู่ในอากาศนาน 4 วินาที โดยไม่คิดแรงต้านของอากาศ ถ้าลูกบอลไปได้ไกลในระดับ 60 เมตร ความเร็วที่ใช้ขว้างลูกบอลมีค่าเท่าไร (25 m/s)
8.               ยิงบั้งไฟไปในอากาศด้วยความเร่งคงที่ 40 m/s2 ในทิศทางทำมุม 30o กับแนวราบขึ้นไปได้ 2 วินาที เชื้อเพลิงก็หมด อยากทราบว่าบั้งไฟขึ้นไปในอากาศได้สูงที่สุดจากพื้นกี่เมตร (120 m)
9.               เครื่องบินทิ้งระเบิด B บินในแนวระดับสูงจากเป้าหมาย A 180 เมตร แนว AB ทำมุมกับแนวระดับ  โดย  = arctan  จงหาความเร็วต้น  u  ของเครื่องบินในขณะนั้น เมื่อปล่อยระเบิดลงมาแล้ว ลูกระเบิดจะกระทบเป้า A พอดี
 กำหนดให้ g = 10 m/s2   (432 km/hr)
10.         บอสโยนลูกบอลจากยอดพื้นเอียงด้วยความเร็ว 2 m/s เอียงทำมุม 30o กับแนวระดับ ถ้าพื้นเอียงนั้นเอียงลดลง 30 o จากแนวระดับเช่นกัน จะใช้เวลาเท่าใดลูกบอลจึงจะกระทบพื้นเอียงนับจากเริ่มโยน (4วินาที)
11.         นักฟุตบอลเตะลูกบอลไปด้วยความเร็ว 20 m/s ในทิศทำมุม 45o กับพื้นสนามไปยังประตู ซึ่งห่างจากจุดเตะ 50 เมตร ถ้าในเวลาเดียวกับนักฟุตบอลเตะลูกบอล ผู้รักษาประตูซึ่งยืนที่ประตูได้วิ่งออกทันทีด้วยความเร่งคงที่ และปรากฏว่าผูรักษาประตูรับลูกบอลได้พอดีที่ลูกบอลตกถึงพื้น จงหาว่าผู้รักษาประตูต้องวิ่งออกมาด้วยความเร็วคงที่เท่าไร  (2.5 m/s2)
12.         **นักรักบี้เตะลูกบอลขึ้นด้วยความเร็ว 20 m/s เป็นมุม 60o กับแนวระดับ เขาจะต้องวิ่งด้วยความเร็วอย่างน้อยที่สุดเท่าไร จึงจะไปรับลูกบอลที่เขาเตะออกไปเองได้พอดีก่อนตกถึงพื้นดิน (10 m/s)
13.         รถมีความเร็วคงที่ 10  m/s วิ่งในแนวเส้นตรง  กำลังวิ่งหนีตำรวจ  ถ้าตำรวจยิงปืนออกไปด้วยความเร็ว 100 m/s ทำมุม 45o กับแนวราบ  จงหาว่าถ้าจะให้กระสุนปืนโดนรถคันนี้พอดี ตำรวจต้องเริ่มยิงเมื่อรถวิ่งห่างออกไปแล้วกี่เมตร (800 m)
14.         สหรัฐอเมริกายิงขีปนาวุธออกจากฐาน โดยทำมุมกับแนวระดับเท่ากับ 30o ถ้ารัสเซียต้องการยิงจรวดทำลายขีปนาวุธขึ้นไปในแนวดิ่งให้ชนกับขีปนาวุธพอดี  เมื่อขีปนาวุธอยู่ ณ ตำแหน่งสูงสุดจะต้องใช้ความเร็วต้นอย่างน้อยเป็นกี่เท่าของความเร็วต้นของขีปนาวุธ (ถ้ายิงพร้อมกัน) (0.5 เท่า)

15               **รถคันหนึ่งกำลังแล่นบนพื้นราบก็ยิงลูกกระสุนขึ้นไปเป็นมุม  กับแนวราบ (เมื่อสังเกตจากรถ) ปรากฏว่ากระสุนนั้นก็สามารถตกลงมาโดนรถได้เอง  จงหาว่ารถแล่นด้วยอัตราเร่งสม่ำเสมอเท่าไร  (g cot )

เฉลย  http://www.facebook.com/album.php?aid=14461&id=100001428525718&l=ac06c03f13

หรือ print ทั้งชุดทำ และ ชุดเฉลยได้ที่ SkyDrive–ฟิสิกส์มัธยมปลาย–PROJECTILE

พลังงานและกฏการอนุรักษ์พลังงาน