ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยขอนแก่นปี 2550
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยขอนแก่นปี 2550
1. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จากตาแหน่ง x = +1.0 เมตร ไปทางซ้ายจนถึงตาแหน่ง x = -3.0 เมตร ใช้เวลา 4 วินาที หลังจากนั้นเคลื่อนที่ไปทางขวาจนถึงตาแหน่ง x = -1.0 เมตร ใช้เวลา 2 วินาทีจงหาอัตราเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่
1) 3/2 เมตรต่อวินาที
2) 1 เมตรต่อวินาที
3) 1/2 เมตรต่อวินาที
4) 1/3 เมตรต่อวินาที
2. วัตถุหนึ่งกาลังเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร่งในระยะทาง 3 เมตร ทาให้ในช่วง ดังกล่าวมีผลต่าง องอัตราเร็วเท่ากับ 2 เมตรต่อวินาที และมีผลรวมของอัตรเร็วเท่ากับ 8 เมตรต่อวินาที ในระยะทาง 3 เมตรนี้ จะใช้เวลาในการเคลื่อนที่กี่วินาที
1) 3/8 วินาที
2) 1/2 วินาที
3) 3/4 วินาที
4) 1 วินาที
3. รถยนต์คันหนึ่งวิ่งเป็นเส้นตรงบนทางราบ เริ่มเหยียบเบรกอย่างสม่าเสมอขณะที่มีอัตราเร็ว 36 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จนกระทั่งหยุดนิ่ง ใช้เวลา 20 วินาที จงหาระยะทางทั้งหมดตั้งแต่ เริ่มเหยียบเบรกจนถึงรถหยุด
1) 100 เมตร
2) 150 เมตร
3) 200 เมตร
4) 250 เมตร
4. โยนวัตถุขึ้นไปในอากาศด้วยอัตราเร็ว 20 เมตรต่อวินาที จงคานวณหาเวลาทั้งหมดตั้งแต่ เริ่มโยนจนวัตถุตกลงมาที่ตาแหน่งเดิม
1) 1 วินาที
2) 2 วินาที
3) 3 วินาที
4) 4 วินาที
5. ออกแรงผลักวัตถุมวล 2 กิโลกรัมโดยค่อยๆเพิ่มแรงขึ้นอย่างสม่าเสมอจาก 0 ถึง 5 นิวตัน ภายในเวลา 0.2วินาที ถามว่าวัตถุจะมีความเร็วเพิ่มขึ้นจากเดิมกี่เมตร/วินาที
1) 0.125 เมตร/วินาที
2) 0.25 เมตร/วินาที
3) 0.5 เมตร/วินาที
3) 1.0 เมตร/วินาที
6. ขว้างวัตถุขึ้นไปในอากาศโดยทา มุม 60 o กับแนวระดับหลังจากเริ่มเคลื่อนที่จนถึงตา แหน่ง
สูงสุดข้อใดต่อไปนี้ถูก
1) ขนาดของความเร่งลดลง
2) ขนาดของความเร่งเพิ่มขึ้น
3) ขนาดของความเร่งเท่าเดิม
3) ขนาดของความเร่งเป็นศูนย์
7. มวล 2, 3 และ 5 กิโลกรัม วางอยู่ที่ตา แหน่ง (0, 0) (4, 0) และ (2, 4) เมตรตามลา ดับ ใน
ระนาบ XY จงหาตา แหน่งของจุดศูนย์กลางมวลของระบบนี้
1) (1.2, 3.0)
2) (2.0, 2.0)
3) (2.0, 1.2)
4) (2.2, 2.0)
8. วางวัตถุมวล 2 กิโลกรัม บนพื้นเอียงลื่น และเอียงทา มุม tan = ¾ กับแนวระดับ จะต้อง
ออกแรงที่ขนานกับพื้นเอียงกี่นิวตัน กระทา ต่อวัตถุ เพื่อให้วัตถุยังคงอยู่นิ่งได้ (กา หนดให้
g = 10 m / s 2 )
1) 10 N
2) 12 N
3) 15 N
4) 16 N
9. ขว้างวัตถุขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็วต้น 10 เมตร/วินาที เมื่อวัตถุขึ้นไปได้สูงเป็น
ครึ่งหนึ่งของระยะสูงสุด วัตถุจะมีอัตราเร็วเท่าไร (กา หนดให้ g = 10 m / s 2 )
1) 2 เมตร/วินาที
2) 5 เมตร/วินาที
3) 5 2 เมตร/วินาที
4) 10 2 เมตร/วินาที
10. อนุภาคตัวหนึ่งเคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวระดับด้วยอัตราเร็วเชิงมุมคงที่ ข้อความใด
ต่อไปนี้ถูก
1) วัตถุมีความเร็วคงที่
2) วัตถุมีความเร่งคงที่
3) วัตถุมีคาบคงที่
4) วัตถุมีแรงเข้าสู่ศูนย์กลางคงที่11. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แบบวงกลมในแนวระดับด้วยอัตราเร็วเชิงมุมคงที่ เมื่อเวลาผ่านไป 2
วินาที วัตถุกวาดมุมได้ 60 o จงคา นวณหาคาบของการเคลื่อนที่
1)
15
วินาที
2) 15 วินาที
3)
12
วินาที
4) 12 วินาที
12. อนุภาคตัวหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮามอร์นิกอย่างง่าย ข้อความใดต่อไปนี้ถูก
1) ตา แหน่งสมดุลจะมีอัตราเร็วต่า สุด
2) ตา แหน่งสมดุลจะมีอัตราเร่งต่า สุด
3) ความเร็วจะมีทิศชี้เข้าสู่ตา แหน่งสมดุลเสมอ
4) ความเร็วจะมีทิศชี้เข้าสู่ตา แหน่งสมดุลเสมอ
13. พิจารณาข้อความใดผิดของการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกาอย่างง่าย
1) เป็นการเคลื่อนที่แบบฮามอร์นิกอย่างง่าย
2) เป็นการเคลื่อนที่แบบซ้า รอยเดิม
3) มีอัตราเร็วคงที่
4) มีพลังงานคงที่
14. ในการทดลองเพื่อหาความเร่งโน้มถ่วง (g) ของดาวดวงหนึ่ง ปรากฏว่า เมื่อนา ข้อมูลจาก
การทดลองมาเขียนกราฟระหว่างคาบยกกา ลังสอง T 2 (S 2 ) กับความยาวของลูกตุ้ม L
(m)ได้ความชันท่ากับ 4 S 2 / m จงคา นวณหาค่า g ของดาวดวงนี้
1) 1 m / s 2
2) 10 m / s 2
3) m / s 2
4) 10 m / s 2
15. วัตถุกา ลังเคลื่อนที่ลงตามพื้นเอียงเรียบเลื่อน ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1) พลังงานของวัตถุกา ลังลดลงเรื่อยๆ ตามความสูงที่ลดลง
2) พลังงานศักย์ของวัตถุกา ลังลดลงเรื่อยๆ ตามความสูงที่ลดลง
3) พลังงานจลน์ของวัตถุกา ลังลดลงเรื่อยๆ ตามความสูงที่ลดลง
4) พลังงานสูญหายในรูปพลังงานความร้อน
1. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จากตาแหน่ง x = +1.0 เมตร ไปทางซ้ายจนถึงตาแหน่ง x = -3.0 เมตร ใช้เวลา 4 วินาที หลังจากนั้นเคลื่อนที่ไปทางขวาจนถึงตาแหน่ง x = -1.0 เมตร ใช้เวลา 2 วินาทีจงหาอัตราเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่
1) 3/2 เมตรต่อวินาที
2) 1 เมตรต่อวินาที
3) 1/2 เมตรต่อวินาที
4) 1/3 เมตรต่อวินาที
2. วัตถุหนึ่งกาลังเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร่งในระยะทาง 3 เมตร ทาให้ในช่วง ดังกล่าวมีผลต่าง องอัตราเร็วเท่ากับ 2 เมตรต่อวินาที และมีผลรวมของอัตรเร็วเท่ากับ 8 เมตรต่อวินาที ในระยะทาง 3 เมตรนี้ จะใช้เวลาในการเคลื่อนที่กี่วินาที
1) 3/8 วินาที
2) 1/2 วินาที
3) 3/4 วินาที
4) 1 วินาที
3. รถยนต์คันหนึ่งวิ่งเป็นเส้นตรงบนทางราบ เริ่มเหยียบเบรกอย่างสม่าเสมอขณะที่มีอัตราเร็ว 36 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จนกระทั่งหยุดนิ่ง ใช้เวลา 20 วินาที จงหาระยะทางทั้งหมดตั้งแต่ เริ่มเหยียบเบรกจนถึงรถหยุด
1) 100 เมตร
2) 150 เมตร
3) 200 เมตร
4) 250 เมตร
4. โยนวัตถุขึ้นไปในอากาศด้วยอัตราเร็ว 20 เมตรต่อวินาที จงคานวณหาเวลาทั้งหมดตั้งแต่ เริ่มโยนจนวัตถุตกลงมาที่ตาแหน่งเดิม
1) 1 วินาที
2) 2 วินาที
3) 3 วินาที
4) 4 วินาที
5. ออกแรงผลักวัตถุมวล 2 กิโลกรัมโดยค่อยๆเพิ่มแรงขึ้นอย่างสม่าเสมอจาก 0 ถึง 5 นิวตัน ภายในเวลา 0.2วินาที ถามว่าวัตถุจะมีความเร็วเพิ่มขึ้นจากเดิมกี่เมตร/วินาที
1) 0.125 เมตร/วินาที
2) 0.25 เมตร/วินาที
3) 0.5 เมตร/วินาที
3) 1.0 เมตร/วินาที
6. ขว้างวัตถุขึ้นไปในอากาศโดยทา มุม 60 o กับแนวระดับหลังจากเริ่มเคลื่อนที่จนถึงตา แหน่ง
สูงสุดข้อใดต่อไปนี้ถูก
1) ขนาดของความเร่งลดลง
2) ขนาดของความเร่งเพิ่มขึ้น
3) ขนาดของความเร่งเท่าเดิม
3) ขนาดของความเร่งเป็นศูนย์
7. มวล 2, 3 และ 5 กิโลกรัม วางอยู่ที่ตา แหน่ง (0, 0) (4, 0) และ (2, 4) เมตรตามลา ดับ ใน
ระนาบ XY จงหาตา แหน่งของจุดศูนย์กลางมวลของระบบนี้
1) (1.2, 3.0)
2) (2.0, 2.0)
3) (2.0, 1.2)
4) (2.2, 2.0)
8. วางวัตถุมวล 2 กิโลกรัม บนพื้นเอียงลื่น และเอียงทา มุม tan = ¾ กับแนวระดับ จะต้อง
ออกแรงที่ขนานกับพื้นเอียงกี่นิวตัน กระทา ต่อวัตถุ เพื่อให้วัตถุยังคงอยู่นิ่งได้ (กา หนดให้
g = 10 m / s 2 )
1) 10 N
2) 12 N
3) 15 N
4) 16 N
9. ขว้างวัตถุขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็วต้น 10 เมตร/วินาที เมื่อวัตถุขึ้นไปได้สูงเป็น
ครึ่งหนึ่งของระยะสูงสุด วัตถุจะมีอัตราเร็วเท่าไร (กา หนดให้ g = 10 m / s 2 )
1) 2 เมตร/วินาที
2) 5 เมตร/วินาที
3) 5 2 เมตร/วินาที
4) 10 2 เมตร/วินาที
10. อนุภาคตัวหนึ่งเคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวระดับด้วยอัตราเร็วเชิงมุมคงที่ ข้อความใด
ต่อไปนี้ถูก
1) วัตถุมีความเร็วคงที่
2) วัตถุมีความเร่งคงที่
3) วัตถุมีคาบคงที่
4) วัตถุมีแรงเข้าสู่ศูนย์กลางคงที่11. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แบบวงกลมในแนวระดับด้วยอัตราเร็วเชิงมุมคงที่ เมื่อเวลาผ่านไป 2
วินาที วัตถุกวาดมุมได้ 60 o จงคา นวณหาคาบของการเคลื่อนที่
1)
15
วินาที
2) 15 วินาที
3)
12
วินาที
4) 12 วินาที
12. อนุภาคตัวหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮามอร์นิกอย่างง่าย ข้อความใดต่อไปนี้ถูก
1) ตา แหน่งสมดุลจะมีอัตราเร็วต่า สุด
2) ตา แหน่งสมดุลจะมีอัตราเร่งต่า สุด
3) ความเร็วจะมีทิศชี้เข้าสู่ตา แหน่งสมดุลเสมอ
4) ความเร็วจะมีทิศชี้เข้าสู่ตา แหน่งสมดุลเสมอ
13. พิจารณาข้อความใดผิดของการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกาอย่างง่าย
1) เป็นการเคลื่อนที่แบบฮามอร์นิกอย่างง่าย
2) เป็นการเคลื่อนที่แบบซ้า รอยเดิม
3) มีอัตราเร็วคงที่
4) มีพลังงานคงที่
14. ในการทดลองเพื่อหาความเร่งโน้มถ่วง (g) ของดาวดวงหนึ่ง ปรากฏว่า เมื่อนา ข้อมูลจาก
การทดลองมาเขียนกราฟระหว่างคาบยกกา ลังสอง T 2 (S 2 ) กับความยาวของลูกตุ้ม L
(m)ได้ความชันท่ากับ 4 S 2 / m จงคา นวณหาค่า g ของดาวดวงนี้
1) 1 m / s 2
2) 10 m / s 2
3) m / s 2
4) 10 m / s 2
15. วัตถุกา ลังเคลื่อนที่ลงตามพื้นเอียงเรียบเลื่อน ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1) พลังงานของวัตถุกา ลังลดลงเรื่อยๆ ตามความสูงที่ลดลง
2) พลังงานศักย์ของวัตถุกา ลังลดลงเรื่อยๆ ตามความสูงที่ลดลง
3) พลังงานจลน์ของวัตถุกา ลังลดลงเรื่อยๆ ตามความสูงที่ลดลง
4) พลังงานสูญหายในรูปพลังงานความร้อน
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยขอนแก่นปี 2550
3. รถยนต์คันหนึ่งวิ่งเป็นเส้นตรงบนทางราบ เริ่มเหยียบเบรกอย่างสม่าเสมอขณะที่มีอัตราเร็ว 36 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จนกระทั่งหยุดนิ่ง ใช้เวลา 20 วินาที จงหาระยะทางทั้งหมดตั้งแต่ เริ่มเหยียบเบรกจนถึงรถหยุด
1) 100 เมตร
2) 150 เมตร
3) 200 เมตร
4) 250 เมตร
4. โยนวัตถุขึ้นไปในอากาศด้วยอัตราเร็ว 20 เมตรต่อวินาที จงคานวณหาเวลาทั้งหมดตั้งแต่ เริ่มโยนจนวัตถุตกลงมาที่ตาแหน่งเดิม
1) 1 วินาที
2) 2 วินาที
3) 3 วินาที
4) 4 วินาที
5. ออกแรงผลักวัตถุมวล 2 กิโลกรัมโดยค่อยๆเพิ่มแรงขึ้นอย่างสม่าเสมอจาก 0 ถึง 5 นิวตัน ภายในเวลา 0.2วินาที ถามว่าวัตถุจะมีความเร็วเพิ่มขึ้นจากเดิมกี่เมตร/วินาที
1) 0.125 เมตร/วินาที
2) 0.25 เมตร/วินาที
3) 0.5 เมตร/วินาที
3) 1.0 เมตร/วินาที
1) 100 เมตร
2) 150 เมตร
3) 200 เมตร
4) 250 เมตร
4. โยนวัตถุขึ้นไปในอากาศด้วยอัตราเร็ว 20 เมตรต่อวินาที จงคานวณหาเวลาทั้งหมดตั้งแต่ เริ่มโยนจนวัตถุตกลงมาที่ตาแหน่งเดิม
1) 1 วินาที
2) 2 วินาที
3) 3 วินาที
4) 4 วินาที
5. ออกแรงผลักวัตถุมวล 2 กิโลกรัมโดยค่อยๆเพิ่มแรงขึ้นอย่างสม่าเสมอจาก 0 ถึง 5 นิวตัน ภายในเวลา 0.2วินาที ถามว่าวัตถุจะมีความเร็วเพิ่มขึ้นจากเดิมกี่เมตร/วินาที
1) 0.125 เมตร/วินาที
2) 0.25 เมตร/วินาที
3) 0.5 เมตร/วินาที
3) 1.0 เมตร/วินาที
การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
1. หน่วยของทอร์ก คือ
นิวตัน/เมตร
นิวตัน, เมตร
กิโลกรัม/เมตร2
กิโลกรัม/เมตร
2. ปริมาณใดต่อไปนี้แตกต่างกับปริมาณในข้ออื่น ๆ
ทอร์ก
ความเร็วเชิงมุม
โมเมนต์ความเฉื่อย
โมเมนตัมเชิงมุม
3. ปริมาณใดมีทิศทางเดียวกับความเร็วเชิงมุม
ความเร่งเชิงมุม
โมเมนต์ความเฉื่อย
ทอร์ก
โมเมนตัมเชิงมุม
4. เมื่อนำวัตถุผูกเชือกแล้วเหวี่ยงให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมในระนาบระดับด้วยอัตราเร็วคงที่ ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
โมเมนตัมเชิงเส้นและโมเมนตัมเชิงมุมมีค่าคงที่
โมเมนตัมเชิงเส้นคงที่แต่โมเมนตัมเชิงมุมเปลี่ยนแปลง
โมเมนตัมเชิงเส้นเปลี่ยนแปลง แต่โมเมนตัมเชิงมุมคงที่
โมเมนตัมเชิงเส้นและโมเมนตัมเชิงมุมต่างมีค่าเปลี่ยนแปลง
5. ล้อจักรยานมีรัศมี 20 เซนติเมตร เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 5 เมตร/วินาที จะมีอัตราเร็วเชิงมุมกี่เรเดียน/วินาที
25
50
75
100
6. ใบพัดลมเครื่องหนึ่งหมุนด้วยอัตรา 600 รอบ/นาที ในเวลา 5 วินาที จากหยุดนิ่ง จงหาความเร่งเชิงมุมของใบพัดลมนี้
2 prad/s2
4 prad/s2
8 prad/s2
16 prad/s2
7. มอเตอร์ไฟฟ้าเครื่องหนึ่งถูกเร่งจากหยุดนิ่งด้วยความเร่ง 10 รอบ/วินาที2 จงหาว่าต้องใช้เวลานานเท่าใดจึงจะหมุนด้วยอัตราเร็ว 900 รอบ/นาที
0.5 วินาที
1.0 วินาที
1.5 วินาที
2.0 วินาที
8.วัตถุมวล m มีโมเมนต์ความเฉื่อย I และมีโมเมนตัมเชิงมุม L จะมีพลังงานจลน์เนื่องจากการหมุนเป็น
9.ท่อทรงกระบอกกลวงกลิ้งไปตามพื้นระดับโดยไม่ไถล จงหาอัตราส่วนระหว่างพลังงานจลน์ของการหมุนต่อพลังงานจลน์ของการเลื่อนตำแหน่ง (I ทรงกระบอก = mr2)
1/2
1
2
4
10. จงหาทอร์กที่ใช้ในการทำให้จานกลมที่มีโมเมนต์ความเฉื่อย 20 กิโลกรัม . เมตร2 เริ่มหมุนจากหยุดนิ่งจนกระทั่งมีอัตราเร็ว 420 รอบ/นาที ใน 10 วินาที
11 นิวตัน . เมตร
22 นิวตัน . เมตร
44 นิวตัน . เมตร
88 นิวตัน . เมตร
นิวตัน/เมตร
นิวตัน, เมตร
กิโลกรัม/เมตร2
กิโลกรัม/เมตร
2. ปริมาณใดต่อไปนี้แตกต่างกับปริมาณในข้ออื่น ๆ
ทอร์ก
ความเร็วเชิงมุม
โมเมนต์ความเฉื่อย
โมเมนตัมเชิงมุม
3. ปริมาณใดมีทิศทางเดียวกับความเร็วเชิงมุม
ความเร่งเชิงมุม
โมเมนต์ความเฉื่อย
ทอร์ก
โมเมนตัมเชิงมุม
4. เมื่อนำวัตถุผูกเชือกแล้วเหวี่ยงให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมในระนาบระดับด้วยอัตราเร็วคงที่ ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
โมเมนตัมเชิงเส้นและโมเมนตัมเชิงมุมมีค่าคงที่
โมเมนตัมเชิงเส้นคงที่แต่โมเมนตัมเชิงมุมเปลี่ยนแปลง
โมเมนตัมเชิงเส้นเปลี่ยนแปลง แต่โมเมนตัมเชิงมุมคงที่
โมเมนตัมเชิงเส้นและโมเมนตัมเชิงมุมต่างมีค่าเปลี่ยนแปลง
5. ล้อจักรยานมีรัศมี 20 เซนติเมตร เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 5 เมตร/วินาที จะมีอัตราเร็วเชิงมุมกี่เรเดียน/วินาที
25
50
75
100
6. ใบพัดลมเครื่องหนึ่งหมุนด้วยอัตรา 600 รอบ/นาที ในเวลา 5 วินาที จากหยุดนิ่ง จงหาความเร่งเชิงมุมของใบพัดลมนี้
2 prad/s2
4 prad/s2
8 prad/s2
16 prad/s2
7. มอเตอร์ไฟฟ้าเครื่องหนึ่งถูกเร่งจากหยุดนิ่งด้วยความเร่ง 10 รอบ/วินาที2 จงหาว่าต้องใช้เวลานานเท่าใดจึงจะหมุนด้วยอัตราเร็ว 900 รอบ/นาที
0.5 วินาที
1.0 วินาที
1.5 วินาที
2.0 วินาที
8.วัตถุมวล m มีโมเมนต์ความเฉื่อย I และมีโมเมนตัมเชิงมุม L จะมีพลังงานจลน์เนื่องจากการหมุนเป็น
9.ท่อทรงกระบอกกลวงกลิ้งไปตามพื้นระดับโดยไม่ไถล จงหาอัตราส่วนระหว่างพลังงานจลน์ของการหมุนต่อพลังงานจลน์ของการเลื่อนตำแหน่ง (I ทรงกระบอก = mr2)
1/2
1
2
4
10. จงหาทอร์กที่ใช้ในการทำให้จานกลมที่มีโมเมนต์ความเฉื่อย 20 กิโลกรัม . เมตร2 เริ่มหมุนจากหยุดนิ่งจนกระทั่งมีอัตราเร็ว 420 รอบ/นาที ใน 10 วินาที
11 นิวตัน . เมตร
22 นิวตัน . เมตร
44 นิวตัน . เมตร
88 นิวตัน . เมตร
วิธีเรียนฟิสิกส์ให้เข้าใจ
วิธีเรียนฟิสิกส์ให้เข้าใจ
หลักการนี้สำหรับผู้ที่ต้องการเป็นนักฟิสิกส์ที่เก่ง
ซึ่งนักฟิสิกส์ที่เก่งส่วนใหญ่ก็ทำเช่นนี้
สำหรับการเรียนเนื้อหาทฤษฏี
สิ่งที่ควรรู้และต้องเข้าใจ
1.คณิตศาสตร์ที่จำเป็นต้องใช้
แต่คณิตศาสตร์บางเรื่องที่คิดว่าไม่ได้ใชก็อาจ
ต้องใช้ในบางครั้งดังนั้นควรต้องรู้คร่าวๆไว้บ้าง(
รู้ให้มากที่สุด)
ควรรู้ว่าคณิตศาสตร์แต่ละเรื่องเหมาะที่จะ
แก้ปัญหาแบบใดและใช้
คณิตศาสตร์อย่างรอบคอบ ไม่ให้
ผิดหลักทางคณิตศาสตร์
2.ฝึกฝนตัวเองให้เป็น
คนช่างคิดช่างสังเกตมองภาพทางฟิสิกส์ให้
ออกก่อนแล้วจึงเลือกใช้
คณิตศาสตร์ที่เหมาะสมเพื่อแก้ปํญหาและให้
มองภาพรวมๆอย่ามองเพียงจุดใดจุดหนึ่ง
เช่นการเรียนเรื่องการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกคิด
ให้เชื่อมโยงกับเรื่องมวลติดสปริง
การเคลื่อนที่ของมวลติดสปริงเชื่อมโยงกับ
กลศาสตร์การเคลื่อนที่ ฟิสิกส์ทุกเรื่องใน
บทเรียนมองให้เชื่อมโยงเป็นเรื่องเดียวกัน
เปรียบเทียบการมองของอะไรบางอย่างถ้ามอง
ใกล้มากเกินไปอาจทำให้หลงทางหรือเข้าใจผิด
ได้ ให้ถอยออกมามองในระยะที่เหมาะสมแล้วคุณ
จะสามารถเห็นรายละเอียดได้ทั้งหมด
หลักการทำความเข้าใจไม่ใช่จำ
1.จงลืมการท่องจำสูตรไปทั้ง
หมดสูตรลัดของฟิสิกส์ก็คือความเข้าใจ
การท่องจำจะทำให้เราไม่สามารถคิดค้นอะไร
ใหม่ๆออกมาได้เพราะ
มัวแต่กังวลเรื่องหลักการเก่าๆที่จำได้ทำให้ไม่
มีอิสระในการคิด นอกจากนั้นสูตรทางฟิสิกส์มี
เป็นล้านๆสูตรคงจะจำไม่ไหว
2.สมการที่สำคัญซึ่งเป็น
หลักของฟิสิกส์มีที่มาเหมือนกับ
ประวัติศาสตร์ของฟิสิกส์นั่นคือกลศาสตร์ของนิวตัน
เพราะว่าจากหลักการนี้ทำให้
นักฟิสิกส์ยุคต่อมาต่อยอดความคิดมาเรื่อยๆดัง
นั้นในการเรียนควรเชื่อมโยงให้ได้กับหลักการนี้
แม้ทางแม่เหล็กไฟฟ้าก็สามารถเช่มโยงได้เช่น
จากกฏแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตันสามารถ
เชื่อมโยงกับกฏของคูลอมบ์
3.จงเข้าใจความ
หมายพื้นฐานของตัวแปรที่สำคัญใน
ธรรมชาติก่อน เช่น แรงต่างๆ งาน พลังงาน
โมเมนตัม และสิ่งที่คุณคิดว่าจำเป็น(จำเป็นเท่านั้น
มิแน้นคุณจะกลับไปสู่การจำอีก)
4.จากสมการทางคณิตศาสตร์มองให้เห็นความ
หมายทางฟิสิกส์(ต้อง
อาศัยประสบการณ์การวิเคราะห์)ไม่ใช่พิสูจน์ได้
อะไรตรงตามเป้าหมายที่ต้องการก็จบแค่นั้น
เช่นไอสน์ไตน์มองเห็นว่าสมการของเขาทำนาย
ความประหลาดของจักรวาลนี้อย่างไร
ไฮเซนเบอร์กบอกว่าเราไม่สามารถ
บอกอะไรเกียวกับอนุภาคได้อย่างแน่นอนถูก
ต้องบอกได้เพียงความน่าจะเป็นเท่านั้น
5.มองวิชาฟิสิกส์โดยรวมให้
เหมือนรูปภาพแบบจุด(ที่ครูมักให้
เด็กอนุบาลทำเล่นเพื่อฝึกสมอง)ซึ่งเราจะ
มองเห็นภาพรวมได้เราต้องเชื่อมจุดเหล่านั้น
อย่างถูกต้องเสียก่อน
การทบทวนเพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง(
ทำแบบฝึกหัดหรือถ้ามีความสามารถ
อาจตั้งโจทย์ทำเองหรือสังเกตจากธรรมชาติแล้ว
ตั้งเป็นปัญหาแล้วแก้ด้วยตัวเอง)
การทำแบบฝึกหัดเป็นการฝึกฝนโดยต้องเข้า
ใจปัญหาอย่างแท้จริงจึงแก้ได้ถูกต้อง
จุดประสงค์เพื่อเข้าใจไม่ใช่เดาข้อสอบที่จะออก
หรือจำวิธีการเพื่อว่าเจอโจทย์แนวเดียวกันจะได้
ใช้วิธีนี้นั่นเป็นการเรียนแค่พอผ่านหรือขอไปที่
การเลือกโจทย์ที่ทำควรดูด้วยว่าข้อนี้ทำให้
เรารู้อะไรบ้างไม่ใช่ว่าโจทย์ข้อนี้จะ
หลอกอะไรเรา
ที่สำคัญถ้าคุณเข้าใจหลักการแล้วคนที่ใช้
หลักการจำจะเทียบอะไรกับคุณไม่ได้เลย(ถ้าคุณ
เข้าใจจริงๆไม่ได้หลอกตัวเอง)
"มันอาจจะยากในช่วงแรกแต่เชื่อผมเถอะว่ามัน
เป็นทางเดียวที่จะนำคุณไปสู่ความสำเร็จ"
นี่เป็นหลักการคร่าวๆที่ผมพอจะนึกออกซึ่งอาจ
จะมีมากกว่านี้
หวังว่าคงเป็นประโยชน์สำหรับน้องๆหรือ
ใครที่กำลังหลงทางกับการเรียนฟิสิกส์อยู่
ซึ่งนักฟิสิกส์ที่เก่งส่วนใหญ่ก็ทำเช่นนี้
สำหรับการเรียนเนื้อหาทฤษฏี
สิ่งที่ควรรู้และต้องเข้าใจ
1.คณิตศาสตร์ที่จำเป็นต้องใช้
แต่คณิตศาสตร์บางเรื่องที่คิดว่าไม่ได้ใชก็อาจ
ต้องใช้ในบางครั้งดังนั้นควรต้องรู้คร่าวๆไว้บ้าง(
รู้ให้มากที่สุด)
ควรรู้ว่าคณิตศาสตร์แต่ละเรื่องเหมาะที่จะ
แก้ปัญหาแบบใดและใช้
คณิตศาสตร์อย่างรอบคอบ ไม่ให้
ผิดหลักทางคณิตศาสตร์
2.ฝึกฝนตัวเองให้เป็น
คนช่างคิดช่างสังเกตมองภาพทางฟิสิกส์ให้
ออกก่อนแล้วจึงเลือกใช้
คณิตศาสตร์ที่เหมาะสมเพื่อแก้ปํญหาและให้
มองภาพรวมๆอย่ามองเพียงจุดใดจุดหนึ่ง
เช่นการเรียนเรื่องการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกคิด
ให้เชื่อมโยงกับเรื่องมวลติดสปริง
การเคลื่อนที่ของมวลติดสปริงเชื่อมโยงกับ
กลศาสตร์การเคลื่อนที่ ฟิสิกส์ทุกเรื่องใน
บทเรียนมองให้เชื่อมโยงเป็นเรื่องเดียวกัน
เปรียบเทียบการมองของอะไรบางอย่างถ้ามอง
ใกล้มากเกินไปอาจทำให้หลงทางหรือเข้าใจผิด
ได้ ให้ถอยออกมามองในระยะที่เหมาะสมแล้วคุณ
จะสามารถเห็นรายละเอียดได้ทั้งหมด
หลักการทำความเข้าใจไม่ใช่จำ
1.จงลืมการท่องจำสูตรไปทั้ง
หมดสูตรลัดของฟิสิกส์ก็คือความเข้าใจ
การท่องจำจะทำให้เราไม่สามารถคิดค้นอะไร
ใหม่ๆออกมาได้เพราะ
มัวแต่กังวลเรื่องหลักการเก่าๆที่จำได้ทำให้ไม่
มีอิสระในการคิด นอกจากนั้นสูตรทางฟิสิกส์มี
เป็นล้านๆสูตรคงจะจำไม่ไหว
2.สมการที่สำคัญซึ่งเป็น
หลักของฟิสิกส์มีที่มาเหมือนกับ
ประวัติศาสตร์ของฟิสิกส์นั่นคือกลศาสตร์ของนิวตัน
เพราะว่าจากหลักการนี้ทำให้
นักฟิสิกส์ยุคต่อมาต่อยอดความคิดมาเรื่อยๆดัง
นั้นในการเรียนควรเชื่อมโยงให้ได้กับหลักการนี้
แม้ทางแม่เหล็กไฟฟ้าก็สามารถเช่มโยงได้เช่น
จากกฏแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตันสามารถ
เชื่อมโยงกับกฏของคูลอมบ์
3.จงเข้าใจความ
หมายพื้นฐานของตัวแปรที่สำคัญใน
ธรรมชาติก่อน เช่น แรงต่างๆ งาน พลังงาน
โมเมนตัม และสิ่งที่คุณคิดว่าจำเป็น(จำเป็นเท่านั้น
มิแน้นคุณจะกลับไปสู่การจำอีก)
4.จากสมการทางคณิตศาสตร์มองให้เห็นความ
หมายทางฟิสิกส์(ต้อง
อาศัยประสบการณ์การวิเคราะห์)ไม่ใช่พิสูจน์ได้
อะไรตรงตามเป้าหมายที่ต้องการก็จบแค่นั้น
เช่นไอสน์ไตน์มองเห็นว่าสมการของเขาทำนาย
ความประหลาดของจักรวาลนี้อย่างไร
ไฮเซนเบอร์กบอกว่าเราไม่สามารถ
บอกอะไรเกียวกับอนุภาคได้อย่างแน่นอนถูก
ต้องบอกได้เพียงความน่าจะเป็นเท่านั้น
5.มองวิชาฟิสิกส์โดยรวมให้
เหมือนรูปภาพแบบจุด(ที่ครูมักให้
เด็กอนุบาลทำเล่นเพื่อฝึกสมอง)ซึ่งเราจะ
มองเห็นภาพรวมได้เราต้องเชื่อมจุดเหล่านั้น
อย่างถูกต้องเสียก่อน
การทบทวนเพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง(
ทำแบบฝึกหัดหรือถ้ามีความสามารถ
อาจตั้งโจทย์ทำเองหรือสังเกตจากธรรมชาติแล้ว
ตั้งเป็นปัญหาแล้วแก้ด้วยตัวเอง)
การทำแบบฝึกหัดเป็นการฝึกฝนโดยต้องเข้า
ใจปัญหาอย่างแท้จริงจึงแก้ได้ถูกต้อง
จุดประสงค์เพื่อเข้าใจไม่ใช่เดาข้อสอบที่จะออก
หรือจำวิธีการเพื่อว่าเจอโจทย์แนวเดียวกันจะได้
ใช้วิธีนี้นั่นเป็นการเรียนแค่พอผ่านหรือขอไปที่
การเลือกโจทย์ที่ทำควรดูด้วยว่าข้อนี้ทำให้
เรารู้อะไรบ้างไม่ใช่ว่าโจทย์ข้อนี้จะ
หลอกอะไรเรา
ที่สำคัญถ้าคุณเข้าใจหลักการแล้วคนที่ใช้
หลักการจำจะเทียบอะไรกับคุณไม่ได้เลย(ถ้าคุณ
เข้าใจจริงๆไม่ได้หลอกตัวเอง)
"มันอาจจะยากในช่วงแรกแต่เชื่อผมเถอะว่ามัน
เป็นทางเดียวที่จะนำคุณไปสู่ความสำเร็จ"
นี่เป็นหลักการคร่าวๆที่ผมพอจะนึกออกซึ่งอาจ
จะมีมากกว่านี้
หวังว่าคงเป็นประโยชน์สำหรับน้องๆหรือ
ใครที่กำลังหลงทางกับการเรียนฟิสิกส์อยู่
สักวันจะเป็นอย่างฝันใฝ่ จะทำให้ได้ เหนื่อยสักเท่าไหร่ทุ่มเทกายใจ ให้ดังฝัน .
สักวันจะเป็นอย่างฝันใฝ่ จะทำให้ได้ เหนื่อยสักเท่าไหร่ทุ่มเทกายใจ ให้ดังฝัน .
มิราจ (Mirage)
มิราจ (Mirage) คือ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในวันที่อากาศร้อนจัด เราจะเห็นเหมือนมีสระน้ำอยู่บนพื้นถนน นั่นเป็นภาพลวงตาที่เกิดจากแสงจากท้องฟ้าหักเหและสะท้อนกลับหมดจากชั้นของอากาศร้อนบนพื้นดินที่เป็นเช่นนี้เพาะในขณะที่แสงแดดร้อนจัด อากาศที่ใกล้ผิวถนนจะมีอุณหภูมิสูงกว่าอากาศที่อยู่สูงจากผิวถนนขึ้นไป อากาศที่อยู่ใกล้ผิวถนนจึงมีความหนาแน่นน้อยกว่าอากาศที่อยู่สูงจากผิวถนนขึ้นไป ความหนาแน่นของอากาศที่แตกต่างกันจึงเปรียบเสมือนตัวกลางที่แตกต่างกัน ดังนั้นเมื่อแสงจากท้องฟ้าเดินทางผ่านความหนาแน่นของอากาศที่แตกต่างกัน แสงจึงเกิดการหักเหได้ และเมื่อมุมตกกระทบโตกว่ามุมวิกฤต จึงเกิดการสะท้อนกลับหมด นอกจากนี้จากหลักการสะท้อนกลับหมดของแสงได้ถูกนำไปใช้อย่างกว้างขวางในเส้นใยนำแสงอีกด้วย
กฎการหักเหของแสง (The Law of Refraction)
กฎการหักเหของแสง (The Law of Refraction)
เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งด้วยมุมๆ หนึ่งที่ไม่ใช่มุมฉากแล้ว แสงจะเกิดการหักเหขึ้น โดยถ้าแสงเดินทางเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า (โปร่งกว่า) ไปยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่า (ทึบกว่า) แสงจะหักเหเข้าหาเส้นปกติ ในทางตรงข้าม ถ้าแสงเดินทางจากยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่า (ทึบกว่า) ไปยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า (โปร่งกว่า) แสงจะหักเหออกจากเส้นปกติ
ผลที่เกิดขึ้นจากการหักเหของแสง
เมื่อมองที่อยู่ในน้ำโดยนัยน์ตาของเราอยู่ในอากาศ จะทำให้มองเห็นวัตถุตื้นกว่าเดิม นอกจากนี้นักเรียนอาจจะเคยสังเกตว่าสระว่ายน้ำหรือถังใส่น้ำจะมองดูตื้นกว่าความเป็นจริง เพราะแสงต้องเดินทางผ่านน้ำและอากาศแล้วจึงหักเหเข้าสู่นัยน์ตา
มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมด
1. มุมวิกฤตจะเกิดขึ้นได้เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่ทึบกว่าไปยังตัวกลางที่โปร่งกว่า
2. มุมวิกฤตคือ มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเหเท่ากับ 90 องศา
3. เมื่อมุมตกกระทบในตัวกลางที่หนาแน่นมากกว่าใหญ่กว่ามุมวิกฤต แสงจะเกิดการสะท้อนกลับหมด
ผลจากการหักเหและการสะท้อนกลับหมดของแสง ทำให้เกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติหลายอย่างเช่น การเกิด รุ้งกินน้ำและการเกิดภาพลวงตาหรือมิราจ
รุ้งกินน้ำ (Rainbow) คือ แถบสีสเปกตรัมของแสงสีขาวของแสงอาทิตย์ เกิดจากแสงอาทิตย์ส่องผ่านเข้าไปในละอองน้ำในอากาศ แล้วเกิดการหักเหและสะท้อนกลับหมดในละอองน้ำ โดยแสงที่หักเหออกจากละอองน้ำจะกระจายออกเป็นสเปกตรัมของแสงขึ้น รุ้งกินน้ำมักเกิดขึ้นหลังฝนตก และผู้สังเกตต้องยื่นหันหลังให้กับดวงอาทิตย์จึงจะมองเห็นได้
เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งด้วยมุมๆ หนึ่งที่ไม่ใช่มุมฉากแล้ว แสงจะเกิดการหักเหขึ้น โดยถ้าแสงเดินทางเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า (โปร่งกว่า) ไปยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่า (ทึบกว่า) แสงจะหักเหเข้าหาเส้นปกติ ในทางตรงข้าม ถ้าแสงเดินทางจากยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่า (ทึบกว่า) ไปยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า (โปร่งกว่า) แสงจะหักเหออกจากเส้นปกติ
ผลที่เกิดขึ้นจากการหักเหของแสง
เมื่อมองที่อยู่ในน้ำโดยนัยน์ตาของเราอยู่ในอากาศ จะทำให้มองเห็นวัตถุตื้นกว่าเดิม นอกจากนี้นักเรียนอาจจะเคยสังเกตว่าสระว่ายน้ำหรือถังใส่น้ำจะมองดูตื้นกว่าความเป็นจริง เพราะแสงต้องเดินทางผ่านน้ำและอากาศแล้วจึงหักเหเข้าสู่นัยน์ตา
มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมด
1. มุมวิกฤตจะเกิดขึ้นได้เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่ทึบกว่าไปยังตัวกลางที่โปร่งกว่า
2. มุมวิกฤตคือ มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเหเท่ากับ 90 องศา
3. เมื่อมุมตกกระทบในตัวกลางที่หนาแน่นมากกว่าใหญ่กว่ามุมวิกฤต แสงจะเกิดการสะท้อนกลับหมด
ผลจากการหักเหและการสะท้อนกลับหมดของแสง ทำให้เกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติหลายอย่างเช่น การเกิด รุ้งกินน้ำและการเกิดภาพลวงตาหรือมิราจ
รุ้งกินน้ำ (Rainbow) คือ แถบสีสเปกตรัมของแสงสีขาวของแสงอาทิตย์ เกิดจากแสงอาทิตย์ส่องผ่านเข้าไปในละอองน้ำในอากาศ แล้วเกิดการหักเหและสะท้อนกลับหมดในละอองน้ำ โดยแสงที่หักเหออกจากละอองน้ำจะกระจายออกเป็นสเปกตรัมของแสงขึ้น รุ้งกินน้ำมักเกิดขึ้นหลังฝนตก และผู้สังเกตต้องยื่นหันหลังให้กับดวงอาทิตย์จึงจะมองเห็นได้
การหักเหของแสง
การหักเหของแสง (Refraction of Light)
เมื่อแสงเดินทางผ่านวัตถุหรือตัวกลางโปร่งใส เช่น อากาศ แก้ว น้ำ พลาสติกใส แสงจะสามารถเดินทางผ่านได้เกือบหมด เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางชนิดเดียวกัน แสงจะเดินทางเป็นเส้นตรงเสมอ แต่ถ้าแสงเดินทางผ่านตัวกลางหลายตัวกลาง แสงจะหักเห
สาเหตุที่ทำให้แสงเกิดการหักเห
เกิดจากการเดินทางของแสงจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งซึ่งมีความหนาแน่นแตกต่างกัน จะมีความเร็วไม่เท่ากันด้วย โดยแสงจะเคลื่อนที่ในตัวกลางโปร่งกว่าได้เร็วกว่าตัวกลางที่ทึบกว่า เช่น ความเร็วของแสงในอากาศมากกว่าความเร็วของแสงในน้ำ และความเร็วของแสงในน้ำมากกว่าความเร็วของแสงในแก้วหรือพลาสติก
การที่แสงเคลื่อนที่ผ่านอากาศและแก้วไม่เป็นแนวเส้นตรงเดียวกันเพราะเกิดการหักเหของแสง โดยแสงจะเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า (โปร่งกว่า) ไปยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่า (ทึบกว่า) แสงจะหักเหเข้าหาเส้นปกติ ในทางตรงข้าม ถ้าแสงเดินทางจากยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่า (ทึบกว่า) ไปยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า (โปร่งกว่า) แสงจะหักเหออกจากเส้นปกติ
ดรรชนีหักเหของตัวกลาง (Index of Refraction)
การเคลื่อนที่ของแสงในตัวกลางต่างชนิดกันจะมีอัตราเร็วต่างกัน เช่น ถ้าแสงเคลื่อนที่ในอากาศจะมีอัตราเร็วเท่ากับ 300,000,000 เมตรต่อวินาที แต่ถ้าแสงเคลื่อนที่ในแก้วหรือพลาสติกจะมีอัตราเร็วประมาณ 200,000,000 เมตรต่อวินาที การเปลี่ยนความเร็วของแสงเมื่อผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน ทำให้เกิดการหักเห อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศต่ออัตราเร็วของแสงในตัวกลางใดๆ เรียกว่า ดรรชนีหักเหของตัวกลาง นั้น
เมื่อแสงเดินทางผ่านวัตถุหรือตัวกลางโปร่งใส เช่น อากาศ แก้ว น้ำ พลาสติกใส แสงจะสามารถเดินทางผ่านได้เกือบหมด เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางชนิดเดียวกัน แสงจะเดินทางเป็นเส้นตรงเสมอ แต่ถ้าแสงเดินทางผ่านตัวกลางหลายตัวกลาง แสงจะหักเห
สาเหตุที่ทำให้แสงเกิดการหักเห
เกิดจากการเดินทางของแสงจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งซึ่งมีความหนาแน่นแตกต่างกัน จะมีความเร็วไม่เท่ากันด้วย โดยแสงจะเคลื่อนที่ในตัวกลางโปร่งกว่าได้เร็วกว่าตัวกลางที่ทึบกว่า เช่น ความเร็วของแสงในอากาศมากกว่าความเร็วของแสงในน้ำ และความเร็วของแสงในน้ำมากกว่าความเร็วของแสงในแก้วหรือพลาสติก
การที่แสงเคลื่อนที่ผ่านอากาศและแก้วไม่เป็นแนวเส้นตรงเดียวกันเพราะเกิดการหักเหของแสง โดยแสงจะเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า (โปร่งกว่า) ไปยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่า (ทึบกว่า) แสงจะหักเหเข้าหาเส้นปกติ ในทางตรงข้าม ถ้าแสงเดินทางจากยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่า (ทึบกว่า) ไปยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า (โปร่งกว่า) แสงจะหักเหออกจากเส้นปกติ
ดรรชนีหักเหของตัวกลาง (Index of Refraction)
การเคลื่อนที่ของแสงในตัวกลางต่างชนิดกันจะมีอัตราเร็วต่างกัน เช่น ถ้าแสงเคลื่อนที่ในอากาศจะมีอัตราเร็วเท่ากับ 300,000,000 เมตรต่อวินาที แต่ถ้าแสงเคลื่อนที่ในแก้วหรือพลาสติกจะมีอัตราเร็วประมาณ 200,000,000 เมตรต่อวินาที การเปลี่ยนความเร็วของแสงเมื่อผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน ทำให้เกิดการหักเห อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศต่ออัตราเร็วของแสงในตัวกลางใดๆ เรียกว่า ดรรชนีหักเหของตัวกลาง นั้น
สมบัติของแสงและการเกิดภาพ
1. ข้อใดเป็นประโยชน์ของแสงอาทิตย์ทางอ้อม
ตากผ้า
อ่านหนังสือ
ถนอมอาหาร
ผลิตกระแสไฟฟ้า
2. รังสีเหนือม่วงคือรังสีในข้อใด
รังสีเอ็กซ์
รังสีคอสมิก
รังสีอินฟราเรด
รังสีอัลตราไวโอเลต
3. ตัวกลางชนิดใดที่แสงเดินทางผ่านไม่ได้
กระจกเงา
กระจกฝ้า
สุญญากาศ
น้ำประปา
4. ข้อใดแสดงถึงคุณสมบัติของแสงกับตัวกลางทึบแสง
การสร้างกล้องดูแห่
การเกิดจันทรุปราคา
การสร้างกล้องจุลทรรศน์
การมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ในน้ำตื้นกว่าความเป็นจริง
5. การเดินทางของแสงผ่านตัวกลางโปร่งใสมากกว่าหนึ่งชนิดทำให้เกิดปรากฎการณ์ใด
การเกิดเงา
การเกิดรุ้งกินน้ำ
การหักเหของแสง
การสะท้อนของแสง
6. ในเวลา 15.00 น. หลังฝนตกจะเกิดรุ้งกินน้ำทางทิศใด
ทิศใต้
ทิศเหนือ
ทิศตะวันออก
ทิศตะวันตก
7. แสงจะสะท้อนกลับมากเมื่อใด
ผ่านตัวกลางหลายชนิด
กระทบกับวัตถุผิวเรียบ
กระทบกับวัตถุผิวขรุขระ
แสงเดินทางเป็นเส้นตรง
1. การมองในข้อใดที่ไม่ใช่การเห็นจากการสะท้อนแสงจากวัตถุ
การมองก้อนเมฆ
การดูกระจกเงา
การดูเงาในน้ำ
การมองกองไฟกำลังไหม้
9. กระจกในข้อใดสะท้อนแสงได้ดีที่สุด
กระจกทาสีดำ
กระจกทาสีแดง
กระจกทาสีขาว
กระจกทาสีเหลือง
10. เราใช้ประโยชน์จากการหักเหของแสงในเรื่องใดมากที่สุด
การทำแว่นสายตา
การส่งสัญญาณ
การจับปลาในน้ำ
การสร้างภาพลวงตา
11. ถ้าต้อการเห็นภาพวัตถุหนาเลนส์นูนที่มีความยาวโฟกัสเท่ากับ 10 เซนติเมตรเป็นภาพหัวตั้งขนาดใหญ่ 2 เท่าของวัตถุระยะวัตถุจะเป็นเท่าไร
3 เซนติเมตร1
5 เซนติเมตร
10 เซนติเมตร
15 เซนติเมตร
12. อุปกรณ์ใดที่ทำให้ภาพจริงได้
เลนส์นูนและกระจกเว้า
กระจกเว้าและกระจกนูน
เลนส์เว้าและกระจกนูน
กระจกนูนและเลนส์นูน
13. เมื่อแสงจากดวงอาทิตย์ส่องผ่านปริซึมจะแยกออกเป็นแสงสีต่าง ๆ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นเพราะเหตุใด
การสะท้อนของแสง
การหักเหของแสง
การกระจายของแสง
การแทรกสอดของแสง
14. คนสายตาสั้นจะต้องสวมแว่นที่ทำด้วยสิ่งใด
เลนส์เว้า
เลนส์นูน
กระจกเว้า
กระจกนูน
15. ถ้าเราอยู่ใต้น้ำเมื่อมองเพื่อนบนฝั่งจะมีลักษณะอย่างไร
เห็นอยู่สูงกว่าตัวจริง
เห็นอยู่ต่ำกว่าตัวจริง
เห็นตัวโตกว่าตัวจริง
เห็นเป็นภาพหัวกลับ
16. เรามองเห็นดินสอหักงอในแก้วที่มีน้ำ เราสรุปได้ว่าอย่างไร
น้ำหนาแน่นกว่าอากาศ
น้ำเป็นตัวกลางโปร่งใส
ทางเดินของแสงหักเหได้
แสงเดินทางผ่านตัวกลางได้มากชนิด
17. ถ้าฉายแสงไฟให้ผ่านอากาศแล้วผ่านน้ำแสงจะเดินทางอย่างไร
เป็นเส้นตรง
เป็นเส้นโค้ง
เบนออกจากเส้นปกติ
เบนเข้าหาเส้นปกติ
18. วางเหรียญไว้ที่ก้นแก้ว เมื่อยืนอยู่ข้าง ๆ จะมองไม่เห็นเหรียญแต่ถ้ารินน้ำลงในแก้วจะสามารถมองเห็นเหรียญได้ เป็นเพราะเหตุใด
การหักเหของแสง
การสะท้อนของแสง
การกระจายของแสง
การสะท้อนกลับหมดของแสง
19. การสะท้อนกลับหมดจะสามารถเกิดขึ้นเมื่อแสงเดินทางตามข้อใด
จากน้ำไปแก้ว
จากแก้วไปน้ำ
จากอากาศไปน้ำ
จากอากาศไปแก้ว
20. อุปกรณ์ใดที่ไม่ได้อาศัยหลักการสะท้อนหรือหักเหของแสง
กล้องรูเข็ม
กล้องสลับลาย
กล้องดูแห่
กล้องจุลทรรศน์
ผลการตัดสินสื่อเล็กทรอนิกส์ Online ปี2554 ประกาศแล้ว
โดย เอนก รัตน์ปิยะภาภรณ์ ผอ.สทร.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ประกาศผลการคัดเลือกสื่ออิเล็กทรอนิกส์ Online แล้ว จากการที่ สำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ดำเนินการส่งเสริมการผลิต และพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 8 กลุ่มสาระการเรียน รู้ ระบบ Online เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูผู้สอน อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ของสพฐ. ได้มีเวทีสำหรับแสดงผลงานในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกิดการผลิตและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 8 กลุ่มสาระการเรียน รู้ ระบบ Online ที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สทร. ได้ประกาศเชิญชวนให้ครูผู้สอน อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้ส่งผลงานการผลิตและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เข้ามาประกวดกัน
ในปีนี้ มีผู้ส่งผลงานการผลิตและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มาจำนวน 80 เรื่อง และคณะกรรมการพิจารณาตัดสินผล ไปแล้วเมื่อวันที่ 8-12 กรกฏาคม 2554 ที่ โรงแรมแกรนด์ไชน่า ปริ๊นเซส กรุงเทพฯ ปรากฏว่ามีสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 14 เรื่อง ที่ได้รับรางวัล คือ
1.เรื่อง การสร้างเว็บไซด์ด้วยโปรแกรม Adobe Dreamweaver CS3
ของ ครูจริพงษ์ คำปวง โรงเรียนบ้านน้อยห้วยรินวิทยา
2.เรื่อง สารละลายกรด-เบส
ของ ครูนาถฤดี แซ่ตัน โรงเรียนสตรีระนอง
3.เรื่อง กลไกของสิ่งมีชีวิต
ของ ครูสิทธิชัย ทิพย์สิงห์ และครูสุพรรษา ทิพย์สิงห์ โรงเรียนสตรีระนอง
4.เรื่อง ความสัมพันธ์ของปรากฎการณ์ระหว่างโลก ดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์
ของ ครูริปอง กัลป์ติวาณิชย์ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
5.เรื่อง การใช้เมาส์
ของ ครูศิวิไล มงคล โรงเรียนบ้านเชิงดอยสุเทพ
6.เรื่อง พญากง พญาพาน
ของ ครูริปอง กัลป์ติวาณิชย์ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
7.เรื่อง คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ของ ครูละไม ฝั่งชลจิตต์ โรงเรียนวัดท้าวโทะ
8.เรื่อง จำนวนจริงเบื้องต้น
ของ ครูเกรียงไกร มาตรมูล โรงเรียนบ้านค่า
9.เรื่อง การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English Conversation)
ของ ครูเพ็ญณี ศรีพนัสกุล ครูสัมฤทธิ์ พวงยอด และครูสุรางค์ สุวรรณหล่อ
โรงเรียนบ้านเป้าวิทยาคาร
10.เรื่อง Food and Drinks (อาหารและเครื่องดื่ม)
ของ ครูยอดขวัญ มามะ โรงเรียนบ้านน้ำดำ
11.เรื่อง Countries & Nationalities of ASEAN Community / Social Issue
ของ ครูปฏิมาภรณ์ พลเหี้ยมหาญ โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 1 นครพนม
12. เรื่อง การอ่านคำสะกดที่ไม่ตรงมาตรา
ของ ครูพิสิฐศักดิ์ ดวงพรม และครูศุภลักษณ์ รักษาดี โรงเรียนบ้านกองแขก
13.เรื่อง หลักภาษาไทย
ของ ครูปัณณาส มงคลเมือง และครูพิพรรฒชัย เหง้ากอก โรงเรียนบ้านเขว้าวิทยายน
14.เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
ของ ครูริปอง กัลป์ติวาณิชย์ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
หลังจากนี้ สทร. จะนำผลงานสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทั้ง 14 เรื่อง ขึ้นวางไว้บนเว็บไซด์ เพื่อให้ครูนักเรียนนำไปใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอนต่อ และจะจัดทำเป็นแผ่น CD เพื่อแจกจ่ายให้แก่โรงเรียนที่อยู่ห่างไกลไม่สามารถเข้าไปใช้งานผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้ ก็ต้องใช้สื่อผ่านทาง แผ่น CD ที่แจกไป
สำหรับปี2553นั้น สทร.ได้นำผลงานสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วางไว้บน OBECLMS จำนวน 22 เรื่อง และจัดทำเป็นแผ่นCD แล้ว ดูรูปประกอบ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ประกาศผลการคัดเลือกสื่ออิเล็กทรอนิกส์ Online แล้ว จากการที่ สำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ดำเนินการส่งเสริมการผลิต และพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 8 กลุ่มสาระการเรียน รู้ ระบบ Online เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูผู้สอน อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ของสพฐ. ได้มีเวทีสำหรับแสดงผลงานในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกิดการผลิตและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 8 กลุ่มสาระการเรียน รู้ ระบบ Online ที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สทร. ได้ประกาศเชิญชวนให้ครูผู้สอน อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้ส่งผลงานการผลิตและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เข้ามาประกวดกัน
ในปีนี้ มีผู้ส่งผลงานการผลิตและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มาจำนวน 80 เรื่อง และคณะกรรมการพิจารณาตัดสินผล ไปแล้วเมื่อวันที่ 8-12 กรกฏาคม 2554 ที่ โรงแรมแกรนด์ไชน่า ปริ๊นเซส กรุงเทพฯ ปรากฏว่ามีสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 14 เรื่อง ที่ได้รับรางวัล คือ
1.เรื่อง การสร้างเว็บไซด์ด้วยโปรแกรม Adobe Dreamweaver CS3
ของ ครูจริพงษ์ คำปวง โรงเรียนบ้านน้อยห้วยรินวิทยา
2.เรื่อง สารละลายกรด-เบส
ของ ครูนาถฤดี แซ่ตัน โรงเรียนสตรีระนอง
3.เรื่อง กลไกของสิ่งมีชีวิต
ของ ครูสิทธิชัย ทิพย์สิงห์ และครูสุพรรษา ทิพย์สิงห์ โรงเรียนสตรีระนอง
4.เรื่อง ความสัมพันธ์ของปรากฎการณ์ระหว่างโลก ดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์
ของ ครูริปอง กัลป์ติวาณิชย์ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
5.เรื่อง การใช้เมาส์
ของ ครูศิวิไล มงคล โรงเรียนบ้านเชิงดอยสุเทพ
6.เรื่อง พญากง พญาพาน
ของ ครูริปอง กัลป์ติวาณิชย์ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
7.เรื่อง คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ของ ครูละไม ฝั่งชลจิตต์ โรงเรียนวัดท้าวโทะ
8.เรื่อง จำนวนจริงเบื้องต้น
ของ ครูเกรียงไกร มาตรมูล โรงเรียนบ้านค่า
9.เรื่อง การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English Conversation)
ของ ครูเพ็ญณี ศรีพนัสกุล ครูสัมฤทธิ์ พวงยอด และครูสุรางค์ สุวรรณหล่อ
โรงเรียนบ้านเป้าวิทยาคาร
10.เรื่อง Food and Drinks (อาหารและเครื่องดื่ม)
ของ ครูยอดขวัญ มามะ โรงเรียนบ้านน้ำดำ
11.เรื่อง Countries & Nationalities of ASEAN Community / Social Issue
ของ ครูปฏิมาภรณ์ พลเหี้ยมหาญ โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 1 นครพนม
12. เรื่อง การอ่านคำสะกดที่ไม่ตรงมาตรา
ของ ครูพิสิฐศักดิ์ ดวงพรม และครูศุภลักษณ์ รักษาดี โรงเรียนบ้านกองแขก
13.เรื่อง หลักภาษาไทย
ของ ครูปัณณาส มงคลเมือง และครูพิพรรฒชัย เหง้ากอก โรงเรียนบ้านเขว้าวิทยายน
14.เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
ของ ครูริปอง กัลป์ติวาณิชย์ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
หลังจากนี้ สทร. จะนำผลงานสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทั้ง 14 เรื่อง ขึ้นวางไว้บนเว็บไซด์ เพื่อให้ครูนักเรียนนำไปใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอนต่อ และจะจัดทำเป็นแผ่น CD เพื่อแจกจ่ายให้แก่โรงเรียนที่อยู่ห่างไกลไม่สามารถเข้าไปใช้งานผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้ ก็ต้องใช้สื่อผ่านทาง แผ่น CD ที่แจกไป
สำหรับปี2553นั้น สทร.ได้นำผลงานสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วางไว้บน OBECLMS จำนวน 22 เรื่อง และจัดทำเป็นแผ่นCD แล้ว ดูรูปประกอบ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)