แบบทดสอบ เรื่อง ชนิดและสมบัติของแร่


แบบทดสอบ เรื่อง ชนิดและสมบัติของแร่
ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเรื่องแร่ ให้ได้มาซึ่งคำตอบที่ถูกต้อง

1.แร่ที่เกิดจากการทับถมของซากพืช ซากสัตว์ คือแร่ชนิดใด
a. ถ่านหิน
b. ดีบุก 
c. ทองคำ 
d. เงิน 

 2.บริเวณที่มีโอกาสพบแหล่งแร่มากที่สุดคือข้อใด
a. มหาสมุทร
b. ที่ราบลุ่ม
c. เทือกเขา
d. ชายทะเล

 3.แร่ที่มีความแข็งมากที่สุดคือแร่ชนิดใด
a. แร่ควอทซ์   
b. แร่คอรันดัม
c. แร่โทแพซ์   
d. แร่เพชร

 4.ข้อใดเป็นสารประกอบอยู่ในหินน้ำมัน
a. คาร์บอนมอนน๊อกไซค์
b. ไฮโดรเจนซัลไฟล์
c. แคโรเจน
d. ออกซิเจน

 5.แร่เชื้อเพลิงมีธาตุใดเป็นองค์ประกอบหลัก
a. C , O
b. H , O
c. O , N
d. N , C

 6.ข้อใดเป็นแร่รัตนชาติ
a. ตะกั่ว
b. ควอทซ์
c. แมกนีไทต์
d. เพชร

 7.ประโยชน์ของโคบอลต์ –60 ทางด้านการเกษตรคือข้อใด
a. รักษาโรคมะเร็ง
b. ชะลอการเน่าเสียของผลผลิต
c. ศึกษาการเปลี่ยนพันธุกรรมของสัตว์
d. ผลิตกระแสไฟฟ้า

 8.ลักษณะของแร่รัตนชาติที่สวยงาม คือข้อใด
a. ไม่มีความวาว
b. สะท้อนแสงไฟ
c. ไม่ยอมให้แสงผ่าน
d. ไม่มีความแข็ง

 9.ประเทศไทยทำเหมืองแร่มากที่สุดที่ภาคใด
a. ภาคใต้
b. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
c. ภาคกลาง
d. ภาคเหนือ

 10.ข้อใดเป็นแร่กัมมันตรังสี
a. เพชร
b. โคบอลต์ –60
c. ทับทิม
d. มรกต

แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แบบต่างๆ

........
.....1. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ความเร็วในแนวราบมีค่าคงที่
.......
.....2. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ความเร็วในแนวดิ่งมีค่าคงที่
......
......3. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ การกระจัดในแนวราบราบเท่ากับการกระจัดในแนวดิ่ง
......
.......4. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ณ ตำแหน่งสูงสุด ความเร็วในแนวดิ่งเป็นศูนย์
......
......5. ขณะที่ลูกวอลเลย์บอลกำลังข้ามตาข่ายไปยังฝั่งตรงข้าม ความเร็วในแนวดิ่งคงที่
......
.......6. ขณะที่ลูกวอลเลย์บอลกำลังข้ามตาข่ายไปยังฝั่งตรงข้าม ความเร่งในแนวดิ่งคงที่
......
.......7. การเคลื่อนที่ของวัตถุแบบวงกลม แรงสู่ศูนย์กลางมีทิศตั้งฉากกับความเร็ว
......
......8. การเคลื่อนที่ของวัตถุแบบวงกลม ความเร่งมีทิศเดียวกับทิศความเร็ว
......
......9. การเคลื่อนที่ของวัตถุแบบวงกลม รัศมีความโค้งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
......
......10. เมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมด้วยอัตราเร็วคงที่ แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุเป็นศูนย์
......
......11. เมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมด้วยอัตราเร็วคงที่ ความเร็วของวัตถุมีค่าคงที่
......
......12.เมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมด้วยอัตราเร็วคงที่ แรงสู่ศูนย์กลางมีค่าเท่ากับน้ำหนักของวัตถุ
......
.......13.เมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมด้วยอัตราเร็วคงที่ อัตราเร็วเชิงมุมของวัตถุมีค่าคงที่
......
.......14.ลักษณะการเคลื่อนที่แบบ SHM วัตถุมีความเร่งมากเมื่อการกระจัดมาก
......
......15.ลักษณะการเคลื่อนที่แบบ SHM วัตถุมีความเร่งกับการกระจัดมีทิศไปทางเดียวกัน
......
.......16.ลักษณะการเคลื่อนที่แบบ SHM ตรงตำแหน่งสมดุลวัตถุมีความเร็วสูงสุด
......
......17.ลักษณะการเคลื่อนที่แบบ SHM ความเร็วของวัตถุจะมีค่าคงตัว
......
......18.ลักษณะการเคลื่อนที่แบบ SHM ความเร่งของวัตถุจะมีค่าคงตัว

ข้อสอบการเคลื่อนที่แบบต่างๆ


ข้อที่ 1/40 : การเคลื่อนที่ในข้อใดต่างจากข้ออื่น

ก : การโยนลูกบาสเกตบอลลงห่วง
ข : การวิ่งทางตรงเป็นระยะทาง 100 เมตร
ค : การหล่นของผลไม้สุกจากต้น
ง: การปล่อยก้อนหินให้หลุดจากมือลงสู่พื้น
ข้อที่ 2/40: การเคลื่อนที่ของชิงช้าสวรรค์เป็นการเคลื่อนที่แบบใด
ก : การเคลื่อนที่ในแนวตรง
ข : การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
ค : การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ง: การเคลื่อนที่กลับไปกลับมา
ข้อที่ 3/40 : ข้อใดจัดเป็นการเคลื่อนที่ในแนวตรง
ก : การปาลูกฟุตบอลลงไปในสนาม
ข : การโยนลูกทุเรียนขึ้นรถบรรทุก
ค : การเสิร์ฟลูกวอลเลย์บอลข้ามตาข่าย
ง: การเคลื่อนที่ของรถยนต์ที่วิ่งบนทางตรง
ข้อที่ 4/40 : การเคลื่อนที่ในข้อใดที่เป็นการเคลื่อนที่แบบกลับไปกลับมาผ่านแนวสมดุลของระบบ
ก : การเคลื่อนที่ของลูกตะกร้อในสนาม
ข : การแกว่งวัตถุเป็นวงกลมแนวราบ
ค : การวิ่งรอบสนาม
ง: การแกว่งของชิงช้า
ข้อที่ 5/40 : ข้อใดจัดเป็นการเคลื่อนที่ในแนวโค้ง
ก : การนั่งแกว่งชิงช้า
ข : การหล่นของลูกมะพร้าวจากต้น
ค : การขับรถจักรยานยนต์บนทางตรง
ง: การว่ายน้ำในลู่จากขอบสระด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง
ข้อที่ 6/40 : การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกาคล้ายกับการเคลื่อนที่ในข้อใด
ก : การสั่นของสายไวโอลิน
ข : การเลี้ยวโค้งของรถจักรยานยนต์
ค : การโยนลูกแตงโมของชาวสวน
ง: การเคลื่อนที่ของลูกเทนนิสในเกมแข่งขัน
ข้อที่ 7/40 : วัตถุในข้อใดไม่ได้เคลื่อนที่เป็นวงกลม
ก : การเลี้ยวโค้งของรถยนต์
ข : การแกว่งของชิงช้าสวรรค์
ค : การกระโดดร่มแบบดิ่งพสุธาขณะที่ร่มยังไม่กาง
ง: การขับรถวนรอบอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
ข้อที่ 8/40 : วัตถุในข้อใดไม่ได้เคลื่อนที่ในแนวตรง
ก : การปล่อยปากกาลงสู่พื้น
ข : การปล่อยแผ่นกระดาษลงสู่พื้น
ค : การโยนลูกบอลขึ้นในแนวดิ่ง
ง: การวิ่งแข่ง 100 เมตร
ข้อที่ 9/40 : การเคลื่อนที่แนวตรงมีลักษณะอย่างไร
ก : เป็นการเคลื่อนที่ที่มีทิศทางเดียวไม่มีการย้อนกลับ
ข : เป็นการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาในเส้นทางเดิมหลายครั้ง
ค : เป็นการเคลื่อนที่ที่มีทิศทางการเคลื่อนที่ไม่เปลี่ยนแปลง
ง: ถูกทุกข้อ
ข้อที่ 10/40 : การยิงวัตถุไปในอากาศในแนวที่เอียงไปจากแนวดิ่งจะทำให้วัตถุมีการเคลื่อนที่อย่างไร
ก : การเคลื่อนที่เป็นแนวตรง
ข : การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
ค : การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ง: การเคลื่อนที่แนวโค้งแบบกลับไปกลับมา
ข้อที่ 11/40 : ข้อใดเป็นลักษณะการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ก : การหมุนของพัดลม
ข : การเหวี่ยงลูกบอลลงในสนาม
ค : การเคลื่อนที่ของกระสุนปืน
ง: การเคลื่อนที่ของดวงจันทร์รอบโลก
ข้อที่ 12/40 : การแกว่งของชิงช้ามีลักษณะการเคลื่อนที่อย่างไร
ก : การเคลื่อนที่ในแนวตรง
ข : การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
ค : การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ง: การเคลื่อนที่แบบกลับไปกลับมาผ่านแนวสมดุล
ข้อที่ 13/40 : การขว้างลูกบอลขึ้นในแนวดิ่งเป็นการเคลื่อนที่แบบใด
ก : การเคลื่อนที่ในแนวตรง
ข : การเคลื่อนที่ในแนวโค้ง
ค : การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
ง: การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ข้อที่ 14/40 : ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์คือข้อใด
ก : แรงต้านของอากาศ
ข : แรงโน้มถ่วงของโลก
ค : มวลของวัตถุ
ง: ตำแหน่งของวัตถุ
ข้อที่ 15/40 : การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เกิดขึ้นได้อย่างไร
ก : ความเร็วในแนวระดับ = 0 ความเร็วในแนวดิ่ง = 0
ข : ความเร็วในแนวระดับคงที่ ความเร็วในแนวดิ่ง = 0
ค : ความเร็วในแนวระดับเพิ่มขึ้นตลอดเวลา ความเร็วในแนวดิ่งคงที่
ง: ความเร็วในแนวระดับ = 0 ความเร็วในแนวดิ่งเพิ่มขึ้นตลอดเวลา
ข้อที่ 16/40 : ในการเคลื่อนที่ของวัตถุแต่ละครั้งข้อใดไม่มีโอกาสเกิดขึ้นได้ 1. ระยะทางน้อยกว่าการกระจัด 2. ระยะทางมากกว่าการกระจัด 3. ระยะทางเท่ากับการกระจัด
ก : ข้อ 1 เท่านั้น
ข : ข้อ 1 และ 2
ค : ข้อ 1 และ 3
ง: ข้อ 2 และ 3
ข้อที่ 17/40 : มดดำเดินทางจากบ้านไปโรงเรียนโดยรถโดยสารประจำทางรถวิ่งตรงไปทางทิศเหนือ 6 กม. จากนั้นเลี้ยวขวาไปทางทิศ ตะวันออก 8 กม. ก็ถึงหน้าโรงเรียนพอดี จงหาระยะทางและการกระจัดของการเดินทางในครั้งนี้
ก : ระยะทาง = 2¶(R+h) กม., การกระจัด = 0 กม.
ข : ระยะทางและการกระจัด = 2¶(R+h) กม.
ค : ระยะทางและการกระจัด = 0 กม.
ง: ไม่มีข้อใดถูก
ข้อที่ 18/40 : มดตะนอยเดินจากบ้านไปทางทิศเหนือ 8 กม. จากนั้นเลี้ยวซ้ายมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตก 6 กม. ก็ถึงสนามเด็กเล่นพอดี จงหาระยะทางและการกระจัดของมดตะนอย
ก : ระยะทางเท่ากับ 14 กม. การกระจัดเท่ากับ 14 กม.
ข : ระยะทางเท่ากับ 14 กม. การกระจัดเท่ากับ 10 กม.
ค : ระยะทางเท่ากับ 10 กม. การกระจัดเท่ากับ 10 กม.
ง: ระยะทางเท่ากับ 10 กม. การกระจัดเท่ากับ 8 กม.
ข้อที่ 19/40 : ข้อใดจัดเป็นปริมาณเวกเตอร์
ก : วัตถุก้อนนี้มีมวล 10 กรัม
ข : วันนี้มีอุณหภูมิสูงสุด 35 องศาเซลเซียส
ค : กระดาษสีแดงมีความกว้าง 20 ซม.ยาว 30 ซม.
ง: รถยนต์คันหนึ่งแล่นไปทางทิศเหนือด้วยความเร็ว40 กม./ชม.
ข้อที่ 20/40 : ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับระยะทาง 1. การกระจัดของ A เท่ากับ 4.5 เมตร 2. การกระจัดของ B เท่ากับ 2 เมตร 3. ระยะทางและการกระจัดของ A มีค่าเท่ากัน 4. ระยะทางและการกระจัดของ B มีค่าไม่เท่ากัน 5. ระยะทางของ A มากกว่าระยะทางของ B
ก : ข้อ 1 และ ข้อ 2 เท่านั้น
ข : ข้อ 3 และ ข้อ 5 เท่านั้น
ค : ข้อ 1 3 และ 5 เท่านั้น
ง: ไม่มีข้อถูก
ข้อที่ 21/40 : การเคลื่อนที่ในข้อใดต่างจากข้ออื่น
ก : การโยนลูกบาสเกตบอลลงห่วง
ข : การวิ่งทางตรงเป็นระยะทาง 100 เมตร
ค : การหล่นของผลไม้สุกจากต้น
ง: การปล่อยก้อนหินให้หลุดจากมือลงสู่พื้น
ข้อที่ 22/40 : การเคลื่อนที่ของชิงช้าสวรรค์เป็นการเคลื่อนที่แบบใด
ก : การเคลื่อนที่ในแนวตรง
ข : การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
ค : การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ง: การเคลื่อนที่กลับไปกลับมา
ข้อที่ 23/40 : ข้อใดจัดเป็นการเคลื่อนที่ในแนวตรง
ก : การปาลูกฟุตบอลลงไปในสนาม
ข : การโยนลูกทุเรียนขึ้นรถบรรทุก
ค : การเสิร์ฟลูกวอลเลย์บอลข้ามตาข่าย
ง: การเคลื่อนที่ของรถยนต์ที่วิ่งบนทางตรง
ข้อที่ 24/40: การเคลื่อนที่ในข้อใดที่เป็นการเคลื่อนที่แบบกลับไปกลับมาผ่านแนวสมดุลของระบบ
ก : การเคลื่อนที่ของลูกตะกร้อในสนาม
ข : การแกว่งวัตถุเป็นวงกลมแนวราบ
ค : การวิ่งรอบสนาม
ง: การแกว่งของชิงช้า
ข้อที่ 25/40: ข้อใดจัดเป็นการเคลื่อนที่ในแนวโค้ง
ก : การนั่งแกว่งชิงช้า
ข : การหล่นของลูกมะพร้าวจากต้น
ค : การขับรถจักรยานยนต์บนทางตรง
ง: การว่ายน้ำในลู่จากขอบสระด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง
ข้อที่ 26/40 : การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกาคล้ายกับการเคลื่อนที่ในข้อใด
ก : การสั่นของสายไวโอลิน
ข : การเลี้ยวโค้งของรถจักรยานยนต์
ค : การโยนลูกแตงโมของชาวสวน
ง: การเคลื่อนที่ของลูกเทนนิสในเกมแข่งขัน
ข้อที่ 27/40 : วัตถุในข้อใดไม่ได้เคลื่อนที่เป็นวงกลม
ก : การเลี้ยวโค้งของรถยนต์
ข : การแกว่งของชิงช้าสวรรค์
ค : การกระโดดร่มแบบดิ่งพสุธาขณะที่ร่มยังไม่กาง
ง: การขับรถวนรอบอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
ข้อที่ 28/40 : วัตถุในข้อใดไม่ได้เคลื่อนที่ในแนวตรง
ก : การปล่อยปากกาลงสู่พื้น
ข : การปล่อยแผ่นกระดาษลงสู่พื้น
ค : การโยนลูกบอลขึ้นในแนวดิ่ง
ง: การวิ่งแข่ง 100 เมตร
ข้อที่ 29/40 : การเคลื่อนที่แนวตรงมีลักษณะอย่างไร
ก : เป็นการเคลื่อนที่ที่มีทิศทางเดียวไม่มีการย้อนกลับ
ข : เป็นการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาในเส้นทางเดิมหลายครั้ง
ค : เป็นการเคลื่อนที่ที่มีทิศทางการเคลื่อนที่ไม่เปลี่ยนแปลง
ง: ถูกทุกข้อ
ข้อที่ 30/40 : การยิงวัตถุไปในอากาศในแนวที่เอียงไปจากแนวดิ่งจะทำให้วัตถุมีการเคลื่อนที่อย่างไร
ก : การเคลื่อนที่เป็นแนวตรง
ข : การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
ค : การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ง: การเคลื่อนที่แนวโค้งแบบกลับไปกลับมา
ข้อที่ 31/40 : ข้อใดเป็นลักษณะการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ก : การหมุนของพัดลม
ข : การเหวี่ยงลูกบอลลงในสนาม
ค : การเคลื่อนที่ของกระสุนปืน
ง: การเคลื่อนที่ของดวงจันทร์รอบโลก
ข้อที่ 32/40 : การแกว่งของชิงช้ามีลักษณะการเคลื่อนที่อย่างไร
ก : การเคลื่อนที่ในแนวตรง
ข : การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
ค : การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ง: การเคลื่อนที่แบบกลับไปกลับมาผ่านแนวสมดุล
ข้อที่ 33/40 : การขว้างลูกบอลขึ้นในแนวดิ่งเป็นการเคลื่อนที่แบบใด
ก : การเคลื่อนที่ในแนวตรง
ข : การเคลื่อนที่ในแนวโค้ง
ค : การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
ง: การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ข้อที่ 34/40 : ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์คือข้อใด
ก : แรงต้านของอากาศ
ข : แรงโน้มถ่วงของโลก
ค : มวลของวัตถุ
ง: ตำแหน่งของวัตถุ
ข้อที่ 35/40 : การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เกิดขึ้นได้อย่างไร
ก : ความเร็วในแนวระดับ = 0 ความเร็วในแนวดิ่ง = 0
ข : ความเร็วในแนวระดับคงที่ ความเร็วในแนวดิ่ง = 0
ค : ความเร็วในแนวระดับเพิ่มขึ้นตลอดเวลา ความเร็วในแนวดิ่งคงที่
ง: ความเร็วในแนวระดับ = 0 ความเร็วในแนวดิ่งเพิ่มขึ้นตลอดเวลา
ข้อที่ 36/40 : ในการเคลื่อนที่ของวัตถุแต่ละครั้งข้อใดไม่มีโอกาสเกิดขึ้นได้ 1. ระยะทางน้อยกว่าการกระจัด 2. ระยะทางมากกว่าการกระจัด 3. ระยะทางเท่ากับการกระจัด
ก : ข้อ 1 เท่านั้น
ข : ข้อ 1 และ 2
ค : ข้อ 1 และ 3
ง: ข้อ 2 และ 3
ข้อที่ 37/40 : มดดำเดินทางจากบ้านไปโรงเรียนโดยรถโดยสารประจำทางรถวิ่งตรงไปทางทิศเหนือ 6 กม. จากนั้นเลี้ยวขวาไปทางทิศ ตะวันออก 8 กม. ก็ถึงหน้าโรงเรียนพอดี จงหาระยะทางและการกระจัดของการเดินทางในครั้งนี้
ก : ระยะทาง = 2¶(R+h) กม., การกระจัด = 0 กม.
ข : ระยะทางและการกระจัด = 2¶(R+h) กม.
ค : ระยะทางและการกระจัด = 0 กม.
ง: ไม่มีข้อใดถูก
ข้อที่ 38/40 : มดตะนอยเดินจากบ้านไปทางทิศเหนือ 8 กม. จากนั้นเลี้ยวซ้ายมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตก 6 กม. ก็ถึงสนามเด็กเล่นพอดี จงหาระยะทางและการกระจัดของมดตะนอย
ก : ระยะทางเท่ากับ 14 กม. การกระจัดเท่ากับ 14 กม.
ข : ระยะทางเท่ากับ 14 กม. การกระจัดเท่ากับ 10 กม.
ค : ระยะทางเท่ากับ 10 กม. การกระจัดเท่ากับ 10 กม.
ง: ระยะทางเท่ากับ 10 กม. การกระจัดเท่ากับ 8 กม.
ข้อที่ 39/40 : ข้อใดจัดเป็นปริมาณเวกเตอร์
ก : วัตถุก้อนนี้มีมวล 10 กรัม
ข : วันนี้มีอุณหภูมิสูงสุด 35 องศาเซลเซียส
ค : กระดาษสีแดงมีความกว้าง 20 ซม.ยาว 30 ซม.
ง: รถยนต์คันหนึ่งแล่นไปทางทิศเหนือด้วยความเร็ว40 กม./ชม.
ข้อที่ 40/40 : ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับระยะทาง 1. การกระจัดของ A เท่ากับ 4.5 เมตร 2. การกระจัดของ B เท่ากับ 2 เมตร 3. ระยะทางและการกระจัดของ A มีค่าเท่ากัน 4. ระยะทางและการกระจัดของ B มีค่าไม่เท่ากัน 5. ระยะทางของ A มากกว่าระยะทางของ B
ก : ข้อ 1 และ ข้อ 2 เท่านั้น
ข : ข้อ 3 และ ข้อ 5 เท่านั้น
ค : ข้อ 1 3 และ 5 เท่านั้น
ง: ไม่มีข้อถูก

วัฏจักรหิน


วัฏจักรหิน
        นักธรณีวิทยาแบ่งหินออกเป็น 3 ประเภท ตามลักษณะของการเกิด ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร เมื่อหินหนืดร้อนภายในโลก (Magma) และ หินหนืดร้อนบนพื้นผิวโลก (Lava) เย็นตัวลงกลายเป็น “หินอัคนี” (Igneous rocks) ลมฟ้าอากาศ น้ำ แสงแดด และสิ่งมีชีวิต ทำให้หินผุพังสึกกร่อนเป็นตะกอนทับถมกัน เป็นเวลานานหลายล้านปี แรงดันและปฏิกิริยาเคมีทำให้เกิดการรวมตัวเป็น “หินตะกอน” (Sedimentary rocks) การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกและความร้อนจากแมนเทิลใต้เปลือกโลก ทำให้เกิดการแปรสภาพเป็น “หินแปร” (Metamorphic rocks)  กระบวนการเหล่านี้เกิดขึ้นเป็นวงรอบเรียกว่า “วัฏจักรหิน” (Rock cycle) อย่างไรก็ตามกระบวนการของวัฏจักรหินไม่จำเป็นต้องเรียงลำดับตามที่กล่าวมาแล้ว การเปลี่ยนแปลงของหินอาจเกิดขึ้นย้อนกลับไปมาได้ ขึ้นอยู่กับปัจจัยแวดล้อม ตามที่แสดงในภาพที่ 1
http://www.lesa.biz/_/rsrc/1305009780049/earth/lithosphere/rocks/rock-cycle/rock_cycle.gif

ภาพที่ 1 วัฏจักรหิน
  • แมกมาใต้เปลือกโลกมีความอุณหภูมิและแรงดันสูงแทรกตัวขึ้นสู่พื้นผิว แมกมาที่ตกผลึกภายในเปลือกโลกกลายเป็นหินอัคนีแทรกซอน (มีผลึกขนาดใหญ่ส่วนลาวาที่เย็นตัวบนพื้นผิวกลายเป็นหินอัคนีพุ (มีผลึกขนาดเล็ก
  • หินทุกชนิดเมื่อผุพัง สึกกร่อน จะถูกพัดพาให้เป็นตะกอนทับถมและกลายเป็นหินตะกอน 
  • หินทุกชนิดเมื่อถูกกดดัน หรือทำให้ร้อน เนื้อแร่จะตกผลึกใหม่กลายเป็นหินแปร 
  • หินทุกชนิดเมื่อจมตัวลงใต้เปลือกโลก จะหลอมละลายกลายเป็นแมกมา แรงดันทำให้มันแทรกตัวขึ้นสู่เปลือกโลกอีกครั้งหนึ่ง และเย็นตัวลงกลายเป็นหินอัคนี


ใบความรู้ เรื่อง ปฏิกิริยานิวเคลียร์


ใบความรู้ เรื่อง ปฏิกิริยานิวเคลียร์
    ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (Nuclear Reaction)   ส่วนมากเกิดจากการยิงอนุภาคแอลฟา  โปรตอนและนิวตรอนเข้าไปในชน Nucleus ทำให้  Nucleus แตกออก  ปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีส่วนสำคัญคือ
      1.  ปฏิกิริยา Nuclear เกิดในนิวเคลียส ต่างจากปฏิกิริยาเคมี  ซึ่งเกิดกับอิเลกตรอนภายในอะตอม
      2.  ปฏิกิริยา Nuclear ต้องใช้พลังงานเป็นจำนวนมากเพื่อจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนิวเคลียส
      3.  แรงจากปฏิกิริยา Nuclear เป็นแรงแบบใหม่ เรียก แรงนิวเคลียร์  ซึ่งมีอันตรกริยาสูง  และอาณาเขตกระทำสั้นมากและแรงนี้เกิดระหว่างองค์ประกอบของนิวเคลียสเท่านั้น
      4.  ในปฏิกิริยานิวเคลียส  เราสามารถนำกฎต่างๆ มาใช้ได้เป็นอย่างดี  คือ กฎการคงที่ของพลังงาน  กฎทรงมวล  และการคงที่ของประจุไฟฟ้า
            สมการ Nuclear  จะเขียนอยู่ในรูปของ
                                               x + a  à  y + b
             x  = นิวเคลียสที่เป็นเป้า        , y = นิวเคลียสที่เกิดใหม่
             a = อนุภาคที่วิ่งชน                , b = อนุภาคที่เกิดใหม่
จากข้างบน สามารถเขียนย่อได้ว่า  x(a,b)y  และเรียกปฏิกิริยาว่า (a,b)  ของ Nucleus x
            ปฏิกิริยาฟิชชัน (Fission)  เป็นปฏิกิริยาแยกตัวของนิวเคลียส  โดยมีนิวตรอนเป็นตัววิ่งเข้าชนนิวเคลียสหนัก (A>230) เป็นผลทำให้ได้นิวเคลียสที่มีขนาดปานกลาง  และมีนิวตรอนที่มีความเร็วสูงเกิดขึ้นประมาณ 2-3 ตัว  ทั้งมีการคายพลังงานออกมาด้วย  เช่น ปฏิกิริยาลูกโซ่

 
  เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (Nuclear Reactor)  เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการผลิตพลังงานนิวเคลียร์  โดยที่เราสามารถควบคุมการเกิดฟิชชันและปฏิกิริยาลูกโซ่ได้  พลังงานที่ได้เราสามารถนำไปใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าได้
            ปฏิกิริยาฟิวชัน (Fusion) เป็นปฏิกิริยาหลอมตัวของนิวเคลียสและมีพลังงานคายออกมาด้วย  นิวเคลียสที่ใช้หลอดจะต้องเป็นนิวเคลียสเล็กๆ (A<20) หลอมรวมกลายเป็นนิวเคลียสเบาที่ใหญ่กว่าเดิม  ในปัจจุบันเชื่อกันว่าบนดาวฤกษ์ต่างๆ พลังงานมหาศาลที่ปล่อยออกมาเกิดจากปฏิกิริยาฟิวชันทั้งสิ้น
            ในแต่ละปฏิกิริยาของฟิชชันและฟิวชันเมื่อเทียบพลังงานแล้ว ในฟิชชันหนึ่งปฎิกิริยาจะให้พลังงานมากกว่าฟิวชันหนึ่งปฏิกิริยา   แต่ในขนาดมวลที่พอกันของสารที่ทำให้เกิดฟิวชัน (เช่น 1H1) กับ สารที่ทำให้เกิดฟิชชัน (เช่น U235) จำนวนปฏิกิริยาฟิวชันจะมากกว่าฟิชชันมากเป็นผลทำให้พลังงานรวมที่ได้จากฟิวชันมากกว่าฟิชชัน

สรุป
1) ปฏิกิริยานิวเคลียร์
    1.1  การหานิวเคลียสของธาตุจากปฏิกิริยา  ใช้หลักดังนี้
            1) ผลรวมของประจุทางซ้ายมือและขวามือของสมการมีค่าเท่ากัน
            2) จำนวนนิวคลีออนทางซ้ายมือและขวามือของสมการมีค่าเท่ากัน
     1.2  การคำนวณพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์   มีหลักดังนี้
            1) ถ้ามวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา > มวลรวมหลักเกิดปฏิกิริยา ; ปฏิกิริยานี้จะคายพลังงาน
                 ถ้ามวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา < มวลรวมหลังเกิดปฏิกิริยา ; ปฏิกิริยานี้จะดูดพลังงาน
              2) พลังงานที่คายหรือดูดจะหาได้จาก  ผลต่างของมวลรวมก่อนทำปฏิกิริยากับหลังทำปฏิกิริยาคูณด้วย 931 โดยมวลอยู่ในหน่วย amu และพลังงานอยู่ในหน่วย MeV
            3) มวลที่ใช้อาจเป็นมวลนิวเคลียสโดยตรง หรือ มวลอะตอมก็ต้องเป็นมวลอะตอมหมดจะปนกันไม่ได้
                 นิวเคลียสก็ต้องเป็นนิวเคลียสหมด  หรือมวลอะตอมก็ต้องเป็นมวลอะตอมหมดจะปนกันไม่ได้
2) ปฏิกิริยาฟิชชัน เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากการยิงนิวตรอนเข้าชนนิวเคลียสของธาตุหนัก (A>230) เป็นผลให้ได้นิวเคลียสที่มีขนาดปานกลาง 2 นิวเคลียส  พร้อมทั้งนิวตรอนประมาณ 2-3 ตัว  และการมีการปลดปล่อยพลังงานออกมาด้วย
3) ปฏิกิริยาลูกโซเป็นปฏิกิริยาฟิชชันสามารถเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่องหลังจากยิงนิวตรอนตัวแรกเข้าชนนิวเคลียสของธาตุหนัก
4) ปฏิกิริยาฟิวชัน เป็นปฏิกิริยาหลอมตัวของนิวเคลียสธาตุเบากลายเป็นนิวเคลียสธาตุเบาที่หนักกว่าเดิม และมีการคายพลังงานออกมาด้วย
ข้อควรจำ           1)  ปฏิกิริยาฟิชชัน 1 ปฏิกิริยา  จะให้พลังงานมากกว่าปฏิกิริยาฟิวชัน 1 ปฏิกิริยา
                        2)  ขนาดของมวลนิวเคลียสที่เท่ากันเข้ากันทำปฏิกิริยาฟิชชั่นและปฏิกิริยาฟิวชั่น  พลังงานที่เกิดจากปฏิกิริยาฟิวชั่นจะมากกว่าพลังงานที่เกิดจากปฏิกิริยาฟิชชั่น

JJJJJJJJJJJJJJJJJJJJJJJJJJJJJ