แบบทดสอบเรื่องปรากฎการทางธรณีวิทยา ทั้งแผ่นดินไหวและสึนามิ
1. บริเวณบนผิวโลกที่เกิดแผ่นดินไหวบ่อยมากที่สุดได้แก่
ก. แนวรอยต่อภูเขาแอลป์กับภูเขาหิมาลัย
ข. บริเวณวงแหวนแห่งไฟ
ค. บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก
ง. บริเวณใจกลางแผ่นยูราเซียน (Eurasian plate)
2. ถ้าหากเกิดแผ่นดินไหวในขณะที่นักเรียนอยู่บนอาคารสูง ควรปฏิบัติตนอย่างไร
ก. รีบวิ่งลงบันได
ข. รีบลงชั้นล่างโดยใช้ลิฟต์
ค. มุดเข้าใต้โต๊ะภายในอาคาร
ง. ไปที่หน้าต่าง เพื่อขอความช่วยเหลือ
3. ประเทศไทยจะได้รับผลจากแผ่นดินไหวอันเนื่องมาจากการกระทบกันของแผ่นธรณีภาคคู่ใดมากที่สุด
ก. แผ่นยูเรเซียกับแผ่นแปซิฟิก
ข. แผ่นยูเรเซียกับแผ่นออสเตรเลีย-อินเดีย
ค. แผ่นแปซิฟิกกับแผ่นนาสกา
ง. แผ่นแอนตาร์กติกกับแผ่นออสเตรเลีย- อินเดีย
4. มาตราที่ใช้วัดความรุนแรงของการเกิดแผ่นดินไหว คือข้อใด
ก. ริกเตอร์
ข. เมอร์แคลลี
ค. โมลด์
ง. เวอร์นเวิร์ด
5. แนวการเกิดแผ่นดินไหวของโลกในข้อใดมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวมากที่สุด
ก. แนวภูเขาแอลป์-หิมาลัย
ข. แนวแถบหมู่เกาะอันดามัน
ค. แนวล้อมรอบมหาสมุทรแปซิฟิก
ง. แนวสันกลางมหาสมุทรแอตแลนติก
6. เครื่องบันทึกคลื่นแผ่นดินไหวมีชื่อเรียกว่าอะไร
ก. ไซสโมกราฟ
ข. บารอมิเตอร์
ค. สเฟียร์โรมิเตอร์
ง. ไกเกอร์ มูเลอร์ เคาเตอร์
7. อัตราเร็วในการแผ่ของคลื่นแผ่นดินไหวขึ้นอยู่กับอะไร ก. ความยืดหยุ่นและความหนาแน่นของตัวกลาง ข. ความหนาและความหนืดของตัวกลาง
ค. อุณหภูมิและความลึกของตัวกลาง ง. มวลและอุณหภูมิของตัวกลาง
8. เหตุใดจึงต้องมีการกำหนดขนาดของแผ่นดินไหว
ก. เพื่อตรวจสอบการเกิดแผ่นดินไหวล่วงหน้า
ข. เพื่อทราบถึงศูนย์กลางของการเกิดแผ่นดินไหว
ค. เพื่อทราบผลกระทบหรือความเสียหายที่จะเกิดขึ้น
ง. เพื่อป้องกันการเกิดแผ่นดินไหว
9. จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (Epicenter) คืออะไร
ก. จุดที่อยู่เหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหวแต่อยู่ในชั้นเนื้อโลก (Mantle)
ข. จุดบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว
ค. จุดในอากาศที่อยู่เหนือการเกิดแผ่นดินไหว
ง. จุดล่างสุดของชั้นเปลือกโลก (Crust) ที่อยู่เหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว
10. ริกเตอร์ (Richter) เป็นหน่วยวัดปริมาณใด
ก. ความรุนแรงของการชนกันของแผ่นธรณีภาค
ข. ความรุนแรงของการระเบิดของภูเขาไฟ
ค. ความรุนแรงของการเกิดคลื่นยักษ์สึนามิ
ง. ความรุนแรงของแผ่นดินไหว
11. การเกิดแผ่นดินไหวแต่ละครั้งที่เกิดความเสียหายมากจะเป็นบริเวณใด
ก. ตามผิวโลก
ข. บริเวณใกล้จุดศูนย์
ค. บริเวณจุดศูนย์กลางโลก
ง. บริเวณที่เหนือจุดศูนย์หรือจุดกำเนิดผิว
12. คาบอุบัติซ้ำมีความหมายตรงกับข้อใด
ก. ระยะเวลาของการเกิดแผ่นดินไหวในแต่ละครั้ง
ข. รอบเวลาของการเกิดแผ่นดินไหว ณ บริเวณหนึ่งๆ
ค. บริเวณที่เกิดแผ่นดินไหวเป็นประจำ
ง. การเกิดแผ่นดินไหวหลังภูเขาไฟระเบิด
13. แผ่นดินไหวขนาด 6 ริคเตอร์ทำให้เกิด
ก. อาคารสิ่งก่อสร้างโดยมากเสียหาย สะพานพังทลาย
ข. อาคารที่มีการออกแบบและโครงสร้างที่ไม่ดีเสียหาย กำแพงพังล้ม
ค. ทุกสิ่งทุกอย่างเสียหายวัตถุทุกอย่างกระเด็นปลิวว่อนในอากาศ
ง. ต้นไม้โอนเอน เครื่องประดับบ้านเคลื่อนที่ได้ สิ่งก่อสร้างเสียหายเล็กน้อย
จัดทำโดยนายพลภัทร นามอญ เลขที่ 2
14. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับแผ่นดินไหว
ก. เกิดจากเปลือกโลกขยายตัวไม่สม่ำเสมอ เพราะความร้อนจากแก่นโลก
ข. เปลือกโลกเกิดการทรุดตัวหรือยุบตัว
ค. เปลือกโลกเกิดการกระทบกระแทกเคลื่อนที่ชนหรือแยกตัวออกจากกันได้
ง. แผ่นเปลือกโลกส่วนบนขยายตัวได้มากกว่าแผ่นเปลือกโลกส่วนล่าง
15. ข้อใดเป็นสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว
ก. ผิวโลกมีอุณหภูมิสูงกว่าแก่นโลก
ข. เปลือกโลกมีการขยายตัวไม่สม่ำเสมอค. ความร้อนจากแก่นโลกทำให้เปลือกโลกเคลื่อนที่ช้า ๆ
ง. ถูกทุกข้อ
16. ข้อใดกล่าวผิด
ก. แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวนอกประเทศทำให้ประเทศไทยเกิดแผ่นดินไหวได้
ข. มาตราวัดความรุนแรงแผ่นดินไหวกำหนดด้วยเลขโรมันมี 12 ระดับ
ค. หลังเกิดแผ่นดินไหวใต้ทะเลจะเกิดคลื่นสึนามิตามมาเสมอ
ง. เครื่องตรวจวัดคลื่นแผ่นดินไหวคือไซโมกราฟ
17. ข้อความใดถูกต้อง
ก. ประเทศไทยมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวมา
ข. เราสามารถตรวจสอบการเกิดแผ่นดินไหวล่วงหน้าได้
ค. การศึกษารอยเลื่อนทำให้ทราบศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหว
ง. ทุกครั้งที่มีการเกิดแผ่นดินไหวมักจะมีภูเขาไฟระเบิดตามมาเสมอ
18. ในอดีตที่ผ่านมาประเทศใดต่อไปนี้ที่เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงมีผู้คนเสียชีวิตจำนวนมากที่สุด
ก. อินเดีย
ข. อังกฤษ
ค. ออสเตรลีย
ง. อินโดนีเซีย
19.แผ่นดินไหวเกิดจากอะไร
ก.การเคลื่อนที่ของเปลือกโลก
ข.การระเบิดของภูเขาไฟ
ค.การทดลองระเบิดปรมานูใต้ดิน
ง.ถูกทุกข้อ
20.คำกล่าวในข้อใดถูกต้อง
ก.จุดเคลื่อนที่ตรงกับคลื่นหักเหมาถึงพร้อมกัน จะแสดงความลึกของรอยต่อของชั้นเปลือกโลก
ข.คลื่นเฉือนไม่ผ่านแก่นโลกชั้นนอก
ค.คลื่นในตัวกลางเป็นคลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิ
ง.ถูกทุกข้อ
21.คำกล่าวในข้อใดถูกต้อง เมื่อแผ่นโลกด้านหนึ่งของรอยแตกเลื่อนไปทับอีกข้างหนึ่ง เรียกว่าอะไร
ก.รอยเลื่อนย้อนกลับ
ข.รอยเลื่อนปกติ
ค.รอยเลื่อนแนวราบ
ง.รอยเลื่อนโมโฮ
22.ผลจากแผ่นดินไหวทำให้เกิด
ก.เกิดแผ่นดินเลื่อน
ข.เกิดรอยเลื่อน
ค.เกิดรอยแตกบนพื้นดิน
ง.ถูกทุกข้อ
23.การประทุของผู้เขาไฟ เกิดจากการไหลออกของแมกมามาตามรอยแตกหรือปล่องด้านข้างของภูเขาไฟ เป็นชนิด
ก.สตรอมโบเลียน
ข.ชนิดโวลแคเนียน
ค.ชนิดฮาวายเอียน
ง.ชนิดพีเลียน
24.การระเบิดของภูเขาไฟทำให้เกิด
ก.การปรับของระดับเปลือกโลกให้อยู่ในภาวะสมดุล
ข.หินแปรมีความแข็งแกร่งขึ้น
ค.บรรยากาศของโลกมีอุณหภูมิต่ำลง
ง.ถูกทุกข้อ
25.การเกิดแผ่นดินไหวแต่ละครั้ง บริเวณที่เสียหายมากจะเป็น
ก.ตามผิวโลก
ข.บริเวณใกล้จุดศูนย์
ค.บริเวณที่เหนือจุดศูนย์หรือจุดกำเนิดผิว
ง.บริเวณจุดศูนย์กลางโลก
26.ภูเขาไฟเกิดจากอะไร
ก.ลาวาและชั้นหินภูเขาไฟ
ข.จาการยกตัวขึ้นของทวีป
ค.จากการเย็นของหินหนืดที่ใต้ผิวโลก และเย็นตัวก่อนออกมาสู่ผิวโลก
ง.ไม่มีข้อถูกต้อง
จัดทำโดยนายธีระวัฒน์ เหรียญอารีย์ เลขที่ 10
27.บริเวณที่มีโอกาสเกิดภูเขาไฟมากที่สุดคือบริเวณใด
ก.แนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก
ข.บริเวณที่มีการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลก
ค.บริเวณที่มีการชนกันของแผ่นเปลือกโลก
ง.บริเวณที่มีการแยกห่างจากกันของแผ่นเปลือกโลก
28.คำกล่าวข้อใดถูกต้อง
ก.คาบอุบัติซ้ำ หมายถึงระยะเวลาครบรอบของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้น ณ ที่นั้นแล้วกลับมาเกิดซ้ำในที่เดิมอีก
ข.คาบอุบัติว้ำเกิดจากชั้นหินแกรนิตเคลื่อนที่จากบริเวณรอยเลื่อน
ค.คาบอุบัติซ้ำไม่สามารถนำมาใช้ในการพยากรณ์การเกิดแผ่นดินไหวในอนาคตได้
ง.คาบอุบัติซ้ำมีระยะเวลาสั้น ๆ
29.รอยเลื่อนมีพลังเกิดจากอะไร
ก.แนวรอยเลื่อนบนเปลือกโลกที่ยังสามารถเคลื่อนที่ได้
ข.การระเบิดของภูเขาไฟ
ค.แผ่นดินไหวระดับลึก
ง.แผ่นดินไหวใกล้จุดศูนย์
30.บริเวณรอยต่อของแผ่นเปลือกโลกจะเกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติในข้อใดมากที่สุด
ก.ภูเขาไฟระเบิด
ข.แผ่นดินไหว
ค.แผ่นดินถล่ม
ง.ภูเขาทรุด
31.ข้อใดไม่ใช่ก๊าซที่ได้มาพร้อม ๆ กับภูเขาไฟระเบิด
ก.ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ข.ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ค.ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์
ง.ก่ซไนโตรเจนไดออกไซด์
32.แผ่นเปลือกโลกมีหลายแผ่น ปัจจุบันทวีปอเมริกาและแผ่นแอฟริกาห่างกันมากเพราะเหตุใด
ก.หินหนืดดันตัวแทรกตามแผ่นเปลือกโลก
ข.ภูเขาไฟระเบิดในมหาสมุทร
ค.เกิดการโค้งตัวของแผ่นเปลือกโลก
ง.เกิดแผ่นดินไหวบ่อยมาก
33.ก่อนและหลังเกิดภูเขาไฟระเบิดมักจะเกิดปรากฏการณ์ตามธรรมชาติตามข้อใด
ก.แผ่นดินไหว
ข.พายุภูเขาไฟ
ค.พายุฟ้าคะนอง
ง.คลื่นยักษ์ในมหาสมุทร
34.แคลดีรา (Calderas) หมายถึงข้อใด
ก.แอ่งภูเขาไฟขนาดใหญ่รูปหมวก
ข.แอ่งภูเขาขนาดใหญ่รูปกระจาด
ค.แอ่งภูเขาไฟขนาดเล็กรูปหมวก
ง.แอ่งภูเขาไฟขนาดเล็กรูปกระจาด
35.ข้อใดคือภูเขาไฟที่เกิดขึ้นบนโลกอย่างถูกต้อง
ก.มีการประทุของหินหนืดจำนวนมาก
ข.มีการประทุของก๊าซต่างๆ จำนวนมาก
ค.มีการประทุของหินหนืดและก๊าซจำนวนมาก
ง.มีการประทุไอร้อนละน้ำจืดจำนวนมาก
36.ภูเขาไฟยังดับไม่สนิทมีประโยชน์ในข้อใด
ก.ใช้ความร้อนจากภูเขาไฟในการหุงต้มอาหาร
ข.ดินมีความอุ่นจึงปลูกพืชได้ดีกว่า
ค.ส่วนที่แข็งแล้วจะมีแร่ที่มีค่ามากกว่าปกติ
ง.สามารถนำน้ำพุมาใช้เป็นพลังงานทดแทน
37.แผ่นดินไหวความรุนแรง 7 หรือ 5.5 – 6.1 ขนาดมาตราริเตอร์จะตรงกับข้อใด
ก.ค่อนข้างแรง กระจกแตก ลูกตุ้มนาฬิกาหยุด
ข.แรง รูปหล่นจากผนัง ของบนหิ้งล่วง
ค.แรงมาก ฝาผนังห้องเกิดรอยร้าว
ง.ทำลายเฟอร์นิเจอร์ใหญ่ๆพลิกคว่ำ
38. บริเวณที่อยู่เหนือชั้นหินหนืด หมายถึงข้อใด
ก.ธรณีภาค
ข.ฐานธรณีภาค
ค.แผ่นเปลือกโลก
ง.ธรณีภาคชั้นนอก
39. เมื่อพื้นแผ่นมหาสมุทรใหม่ก่อรูปขึ้น จะเกิดผลอย่างไรกับพื้นแผ่นมหาสมุทรเก่า
ก.พื้นแผ่นมหาสมุทรเก่ารวมตัวกันเป็นแนวเทือกเขา
ข.พื้นแผ่นมหาสมุทรเก่ารวมตัวกันเป็นบริเวณพื้นทวีป
ค.พื้นแผ่นมหาสมุทรเก่าเคลื่อนตัวลงไปภายในโลก บริเวณร่องลึกก้นสมุทร เกิดการมุดตัวของเปลือกโลก
ง.พื้นแผ่นมหาสมุทรเก่ารวมตัวกันเป็นแนวภูเขาไฟกลางมหาสมุทร
จัดทำโดยนางสาวกมลชนก กลิ่นศิริ เลขที่ 19
40. ถ้าแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่นเคลื่อนที่แยกจากกันที่เทือกสันเขากลางมหาสมุทร จะเกิดผลตามข้อใด
ก.การขยายตัวของทวีป
ข.เกิดภูเขาไฟใต้มหาสมุทร
ค.เกิดแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทร
ง.เกิดการขยายตัวของมหาสมุทร
41. ส่วนที่เป็นธรณีภาค (Lithosphere) ได้แก่ บริเวณใด
ก.เปลือกโลกแสะส่วนบนของเนื้อโลก
ข.เปลือกโลกและเนื้อโลกทั้งหมด
ค.เปลือกโลก (Crust)
ง.เนื้อโลก (Mentle)
42. บริเวณบนผิวโลกที่เกิดแผ่นดินไหวบ่อยมากที่สุดได้แก่
ก.แนวรอยต่อภูเขาแอลป์กับภูเขาหิมาลัย
ข.บริเวณวงแหวนแห่งไฟ
ค.บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก
ง.บริเวณใจกลางแผ่นยูราเซียน (Eurasian plate)
43. ถ้าหากเกิดแผ่นดินไหวในขณะที่นักเรียนอยู่บนอาคารสูง ควรปฏิบัติตนอย่างไร
ก.รีบวิ่งลงบันได
ข.รีบลงชั้นล่างโดยใช้ลิฟต์
ค.มุดเข้าใต้โต๊ะภายในอาคาร
ง.ไปที่หน้าต่าง เพื่อขอความช่วยเหลือ
44. บริเวณที่อยู่ห่างจากรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก เช่น ประเทศไทย มีโอกาสเกิดภูเขาไฟระเบิดหรือไม่ เพราะเหตุใด
ก.มีโอกาส เพราะแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ตลอดเวลา
ข.ไม่มีโอกาส เพราะอยู่ห่างจากบริเวณที่มีโอกาสเกิดภูเขาไฟ
ค.ไม่มีโอกาส เพราะประเทศไทยไม่มีรอยแยกของชั้นหินอยู่เลย
ง.มีโอกาส เพราะหินหนืดมีโอกาสดันขึ้นมาตามรอยแตกของชั้นหินได้
45. ข้อใด ไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก
ก.แผ่นเปลือกโลกแต่ละแผ่นเคลื่อนที่ในทิศทางเดียวกัน
ข.แผ่นเปลือกโลกแผ่นเล็ก ๆ จะมีพื้นที่หายไป
ค.แผ่นเปลือกโลกแต่ละแผ่นอาจเกิดการกระแทกซึ่งกันและกัน
ง.แผ่นเปลือกโลกแผ่นใหญ่จะเคลื่อนที่ไปพร้อมกับทวีปเคลื่อนอย่างช้า ๆ
46. ประเทศไทยจะได้รับผลจากแผ่นดินไหวอันเนื่องมาจากการกระทบกันของแผ่นธรณีภาคคู่ใดมากที่สุด
ก.แผ่นยูเรเซียกับแผ่นแปซิฟิก
ข.แผ่นยูเรเซียกับแผ่นออสเตรเลีย-อินเดีย
ค.แผ่นแปซิฟิกกับแผ่นนาสกา
ง.แผ่นแอนตาร์กติกกับแผ่นออสเตรเลีย- อินเดีย
47. มาตราที่ใช้วัดความรุนแรงของการเกิดแผ่นดินไหว คือข้อใด
ก.ริกเตอร์
ข.เมอร์แคลลี
ค.โมลด์
ง.เวอร์นเวิร์ด
48. แนวการเกิแผ่นดินไหวของโลกในข้อใดมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวมากที่สุด
ก.แนวภูเขาแอลป์-หิมาลัย
ข.แนวแถบหมู่เกาะอันดามัน
ค.แนวล้อมรอบมหาสมุทรแปซิฟิก
ง.แนวสันกลางมหาสมุทรแอตแลนติก
49. เครื่องบันทึกคลื่นแผ่นดินไหวมีชื่อเรียกว่าอะไร
ก.ไซสโมกราฟ
ข.บารอมิเตอร์
ค.สเฟียร์โรมิเตอร์
ง.ไกเกอร์ มูเลอร์ เคาเตอร์
50. อัตราเร็วในการแผ่ของคลื่นแผ่นดินไหวขึ้นอยู่กับอะไร
ก.ความยืดหยุ่นและความหนาแน่นของตัวกลาง
ข.ค.ความหนาและความหนืดของตัวกลาง
ค.อุณหภูมิและความลึกของตัวกลาง
ง.มวลและอุณหภูมิของตัวกลาง
51. เหตุใดจึงต้องมีการกำหนดขนาดของแผ่นดินไหว
ก.เพื่อตรวจสอบการเกิดแผ่นดินไหวล่วงหน้า
ข.เพื่อทราบถึงศูนย์กลางของการเกิดแผ่นดินไหว
ค.เพื่อทราบผลกระทบหรือความเสียหายที่จะเกิดขึ้น
ง.เพื่อป้องกันการเกิดแผ่นดินไหว
52. จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (Epicenter) คืออะไร
ก.จุดที่อยู่เหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหวแต่อยู่ในชั้นเนื้อโลก (Mantle)
ข.จุดบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว
ค.จุดในอากาศที่อยู่เหนือการเกิดแผ่นดินไหว
ง.จุดล่างสุดของชั้นเปลือกโลก (Crust) ที่อยู่เหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว
จัดทำโดยนางสาวพัชรวรรณ พันธ์วิไล เลขที่ 27
53. ริกเตอร์ (Richter) เป็นหน่วยวัดปริมาณใด
ก.ความรุนแรงของการชนกันของแผ่นธรณีภาค
ข.ความรุนแรงของการระเบิดของภูเขาไฟ
ค.ความรุนแรงของการเกิดคลื่นยักษ์สึนามิ
ง.ความรุนแรงของแผ่นดินไหว
54. บริเวณบนผิวโลกที่เกิดแผ่นดินไหวบ่อยมากที่สุดได้แก่
ก.แนวรอยต่อภูเขาแอลป์กับภูเขาหิมาลัย
ข.บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก
ค.บริเวณวงแหวนแห่งไฟ
ง.บริเวณใจกลางแผ่นยุราเซียน (Eurasian plate)
55. พันเจีย (Pangaea) คืออะไร
ก.บริเวณวงแหวนแห่งไฟ
ข.แผ่นดินบนโลกทั้งหมดขณะที่ติดเป็นผืนเดียวกันหมด
ค.ใจกลางธรณีภาค
ง.บริเวณปากปล่องภูเขาไฟ
56. ข้อใดเป็นสาเหตุที่ทำให้หินหนืดในชั้นแมนเทิลไหลวนได้
ก. การหมุนรอบตัวเองของโลก
ข.พลังงานความร้อนจากแก่นโลก
ค.แรงดึงดูดของโลกและดวงจันทร์
ง. น้ำหนักของโลกและแรงโน้มถ่วงของโลก
57. การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกในข้อใดที่ ไม่ มีอิทธิพลจากภายใต้ผิวโลก
ก.การกร่อน
ข.การเกิดภูเขา
ค.แผ่นดินไหว
ง.การระเบิดของภูเขาไฟ
58. ข้อใดกล่าวถึงเปลือกโลกที่ปกคลุมมหาสมุทรได้ถูกต้อง
ก.ประกอบด้วยหินแกรนิตเป็นส่วนใหญ่
ข.มีความหนาน้อยกว่าเปลือกโลกที่ปกคลุมทวีป
ค.มีอายุมากกว่าเปลือกโลกที่ปกคลุมทวีป
ง.คลื่นแผ่นดินไหวเคลื่อนที่ผ่านได้ช้ากว่าเปลือกโลกที่ปกคลุมทวีป
59.แนวการเกิดแผ่นดินไหวของโลกในข้อใด มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวมากที่สุด
ก.แนวภูเขาแอลป์-หิมาลัย
ข.แนวแถบหมู่เกาะอันดามัน
ค.แนวล้อมรอบมหาสมุทรแปซิฟิก
ง.แนวสันกลางมหาสมุทรแอตแลนติก
60. เครื่องมือตรวจวัดการไหวสะเทือนของแผ่นดินไหว เรียกว่าอย่างไร
ก.โซนาร์
ข.เรดาร์
ค.ไซสโมกราฟ
ง.ไฮโกรมิเตอร์
61. การปะทุของภูเขาไฟแบบใดที่มีการระเบิดอย่างรุนแรง ในท้องฟ้าจะเต็มไปด้วยเถ้าถ่านและแก๊ส
ก.แบบพีเลียน
ข.แบบฮาวายเอียน
ค.แบบโวลแคเนียน
ง.แบบสตรอมโบเลียน
62. แผ่นเปลือกโลกใดมีขนาดใหญ่มากที่สุด
ก.แผ่นเปลือกโลกยูเรเชียน
ข.แผ่นเปลือกโลกแปซิฟิก
ค.แผ่นเปลือกโลกแอฟริกา
ง.แผ่นเปลือกโลกอเมริกาเหนือ
63. เมื่อแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่นเคลื่อนที่ชนกันบริเวณขอบที่ชนกันจะเป็นอย่างไร
ก.ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงเพราะเปลือกโลกหยุดอยู่กับที่
ข.เปลือกโลกเกิดการซ้อนกันและโค้งงอขึ้นกลายเป็นภูเขา
ค.เปลือกโลก 2 ทวีปเกิดการระเบิดอย่างรุนแรงจมลงใต้มหาสมุทร
ง.เกิดหลุมกว้างขนาดใหญ่กลายเป็นทะเลสาบและเกิดกระแสน้ำวนในเวลาต่อมา
64. ข้อใดไม่ได้อยู่ในบริเวณที่เรียกว่า "วงแหวนแห่งไฟ (ring of fire)"
ก.บริเวณขอบมหาสมุทรแปซิฟิกทั้งหมด
ข.บริเวณรอยต่อภูเขาแอลป์และภูเขาหิมาลัย
ค.ประเทศญี่ปุ่นทั้งหมด
ง.บริเวณด้านตะวันตกของเม็กซิโก
65. ตามทฤษฎีการแปรสัญฐาน (Plate tectonics) ข้อใดอยู่ในทวีป "ลอเรเชีย"
ก.ทวีปแอฟริกา
ข.ทวีปอินเดีย
ค.ทวีปอเมริกาเหนือ
ง.ทวีปออสเตรเลีย
จัดทำโดยนางสาวมัณฑนา การสง่า เลขที่ 35
66. อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถาม
1. แผ่นดินไหวหรือแผ่นดินถล่มใต้มหาสมุทร
2. การระเบิดของภูเขาไฟใต้มหาสมุทร
3. การทดลองระเบิดปรมาณูใต้มหาสมุทร
ก. 1 เท่านั้น
ข. 1 และ 2
ค. 1 และ 3
ง. 1 , 2 และ 3
67. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก.ประเทศไทยอยู่บนแผ่นยูเรเชีย
ข.ประเทศอินเดียอยู่บนแผ่นออสเตรเลีย
ค.ประเทศอเมริกาอยู่บนแผ่นอเมริกาใต้
ง.ประเทศเอธิโอเปียอยู่บนแผ่นแอฟริกา
68. เครื่องมือข้อใดที่ใช้ศึกษาโครงสร้างของโลก
ก.ไซสโมกราฟ
ข.เมอร์คัลลีกราฟ
ค.คลื่นไหวสะเทือนที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น
ง.เครื่องมือวัดจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
69. การเกิดปรากฏการณ์ทางธรณีมักเกิดในบริเวณใดมากที่สุด
ก.รอยต่อของแผ่นธรณีภาคทุกแห่ง
ข.รอยต่อของแผ่นธรณีภาคที่ชนกัน
ค.รอยต่อของแผ่นธรณีภาคที่แยกจากกัน
ง.รอยต่อของแผ่นธรณีภาคที่สวนทางกัน
70. เทือกสันเขากลางมหาสมุทรเกิดจากปรากฏการณ์ทางธรณีภาคแบบใด
ก.การเกิดแผ่นดินไหว
ข.การระเบิดของภูเขาไฟ
ค.การชนกันของแผ่นเปลือกโลก
ง.การแยกตัวของแผ่นเปลือกโลก
71. การเกิดแผ่นดินไหวแต่ละครั้งที่เกิดความเสียหายมากจะเป็นบริเวณใด
ก.ตามผิวโลก
ข.บริเวณใกล้จุดศูนย์
ค.บริเวณจุดศูนย์กลางโลก
ง.บริเวณที่เหนือจุดศูนย์หรือจุดกำเนิดผิว
72. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงคลื่นสึนามิที่ถูกต้อง
ก.ความเร็วของคลื่นไม่ขึ้นอยู่กับความลึก
ข.เป็นคลื่นน้ำที่มีความยาวคลื่น 1,000 กิโลเมตร
ค.ปรากฏการณ์นี้มักเกิดบริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกเท่านั้น
ง.จะเกิดขึ้นทุกครั้งที่เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.0 ริกเตอร์ขึ้นไปในมหาสมุทร
73. เมื่อภูเขาไฟระเบิดจะมีก๊าซพ่นออกมา ก๊าซชนิดใดที่ไม่ได้เกิดจากภูเขาไฟระเบิด
ก.บิวเทน
ข.คาร์บอนมอนอกไซด์
ค.คาร์บอนไดออกไซด์
ง.ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
74. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับแมกมาและลาวา
ก.ลาวาเมื่อไหลสู่ผิวโลกเรียกว่า แมกมา
ข.แมกมาเมื่อไหลสู่ผิวโลกเรียกว่า ลาวา
ค.แมกมาและลาวามีส่วนประกอบแร่ธาตุต่างกัน
ง.แมกมาและลาวาเป็นหินหนืดที่ไหลพุ่งขึ้นสู่ผิวโลก
75.ข้อใดเป็นสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว
ก. ผิวโลกมีอุณหภูมิสูงกว่าแก่นโลก
ข. เปลือกโลกมีการขยายตัวไม่สม่ำเสมอ
ค ความร้อนจากแก่นโลกทำให้เปลือกโลกเคลื่อนที่ช้า ๆ
ง. ถูกทุกข้อ
76.ก่อนภูเขาไฟระเบิดมักจะเกิดแผ่นดินไหวเพราะเหตุใด
ก. เกิดคลื่นลมในทะเลที่มีแรงดันมาก
ข. หินหนืดที่มีแรงดันสูงเคลื่อนตัว
ค. การปรับตัวของหินหนืดกับชั้นหิน
ง. การขยายตัวของหินหนืดแต่ละชั้นต่างกัน
77.ประเทศไทยมีโอกาสเกิดภูเขาไฟระเบิดน้อยมากเพราะเหตุใด
ก.อยู่ห่างจากศูนย์กลางของแผ่นเปลือกโลก
ข.อยู่ห่างจากรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก
ค. ไม่มีหินหนืดหลอมเหลวใต้แผ่นดินไทย
ง. ไม่มีรอยแยกของผืนแผ่นดินไทย
78. คลื่นใด ไม่ สามารถเคลื่อนที่ผ่านของเหลวภายใต้เปลือกโลก
ก.คลื่นพื้นผิว
ข.คลื่นปฐมภูมิ
ค.คลื่นทุติยภูมิ
ง.คลื่นตามยาว
79. ฐานธรณีภาค มีความหมายตรงตามข้อใด
ก.ชั้นเนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลก
ข.ชั้นเนื้อโลกส่วนล่างกับชั้นแก่นโลก
ค.ชั้นในเนื้อโลกทั้งหมด
ง.ชั้นเนื้อโลกที่เป็นของเหลว
80. ขอบเขตของแผ่นเปลือกโลกมักจะมีอะไรเป็นเครื่องบ่งบอกให้ทราบได้
ก.หมู่เกาะน้อยใหญ่
ข.แนวภูเขาไฟและแนวแผ่นดินไหว
ค.เนินดินที่เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ
ง.ทะเลสาบที่มีความยาวเกิน 100 กิโลเมตร
จัดทำโดยนางสาวธัญญารัตน์ โต้สาลี เลขที่ 42
แบบทดสอบวิชา วิทยาศาสตร์( 100 ข้อพร้อมเฉลย)
แบบทดสอบวิชา วิทยาศาสตร์( 100 ข้อพร้อมเฉลย)
ตอนที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
1. ข้อความใดกล่าวผิด ?
ก. การเข้ามาอยู่ร่วมกันเพื่อทำหน้าที่เฉพาะอย่างเราเรียกว่าระบบสังคม
(ข.) เนื้อเยื่อ หลาย ๆ เนื้อเยื่อรวมกันและทำหน้าที่อย่าง เดียวกัน เราเรียกว่า อวัยวะ
ค. เซลล์สืบพันธุ์ (sex cell) มีหน้าที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมจากพ่อแม่ถ่ายทอดให้คนรุ่นหลานดูแล
ง. เซลล์ผิวหนัง ( skin cell) มีลักษณะเรียงตัวเป็นชั้น ๆ ทำหน้าที่ให้ความสวยงาม
2. เซลล์สืบพันธุ์ (sex cell) มีหน้าที่อะไร
(ก.)นำข้อมูลทางพันธุกรรมจากพ่อแม่ถ่ายทอดให้แก่ลูก
ข. ทำหน้าที่ผลิตเซลล์อสุจิ
ค. ทำหน้าที่ผลิตไข่
ง. ควบคุมการเคลื่อนไหวโดยรับคำสั่งจากสมองส่งผ่าน เซลล์
3. การหายใจเขียนเป็นสมการได้C6 H12 O 6 + O2 H2O + C2O + พลังงานในสมการนั้น CO2 และ H2O คืออะไรตามลำดับ
ก. น้ำและก๊าซออกซิเจน
(ข.) น้ำและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ค. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ
ง. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และออกซิเจน
4. ไวรัสที่มีขนาดเล็กที่สุดประมาณ เท่าไร
ก. 10 มิลลิไมครอน
(ข.) 15 มิลลิไมครอน
(ข.) 15 มิลลิไมครอน
ค. 13 มิลลิไมครอน
ง. 20 มิลลิไมครอน
5. คำกล่าวใดถูกต้องมากที่สุด
ก. มิวเทชันเกิดได้เฉพาะเซลล์สืบพันธุ์เท่านั้น
ข. สิ่งแวดล้อมทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมได้
ค. บริเวณเซลล์ร่างกายทั่ว ๆ ไปไม่สามารถเกิดมิวเทชันได้
(ง) มิวเทชันที่เซลล์สืบพันธุ์จะถ่ายทอดลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปสู่ลูกหลานได้
6. คานเบาอันหนึ่งยาว 70 เซนติเมตร มีน้ำหนัก 6 กก.และ 8 กก. กดที่ปลายคานแต่ละข้าง จะต้องวางจุดหมุนตรงไหน คานตึงจะสมดุล
ก. วางที่ปลายคานตรงจุด 70 เซนติเมตร
ข. 35 เซนติเมตรจากก้อนแรก
(ค.) 40 เซนติเมตรจากก้อนแรก
ง. 60 เซนติเมตรจากก้อนแรก
7. ข้อใดมีความหมายเกี่ยวกับกฎของนิวตันข้อที่ 1
(ก.) แรงกริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา
ข. พลังไม่สูญหายไปจากโลก
ค. แรงที่ใช้ในการเคลื่อนที่มีค่าเท่ากับแรงต้านการเคลื่อนที่
ง. ความเร่งและแรงลัพธ์มีทิศทางเดียวกัน
8. รถคันหนึ่งมีความเร็วเริ่มต้นถึงความเร็วสุดท้ายแตกต่างกัน 8 เมตร/วินาที ใช้เวลาต่างกัน 4 นาที จงหาความเร่งของรถคันนี้
ก. 1 เมตร / วินาที2
(ข.) 2 เมตร / วินาที2
ค. 3 เมตร / วินาที2
ง. 4 เมตา / วินาที2
9. ข้อใดไม่ใช่การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
ก. การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง
ข. การเคลื่อนที่แนวราบ
(ค.) การเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้ง
ง. การเคลื่อนที่แนวดิ่ง
10. ข้อความใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. การเคลื่อนที่แบบเสรีของวัตถุในโลกพลังงานกลรวมย่อมมีค่าคงที่
ข. พลังงานรวมของวัตถุจะไม่สูญหายไปไหนแต่ อาจเปลี่ยนรูปได้
ค. ผลรวมของพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ของวัตถุเรียกว่าพลังงานกลรวม
(ง. ) ขณะวัตถุกำลังเคลื่อนที่จะทำให้เกิดพลังงานศักย์โน้มถ่วงขึ้น
11. นำน้ำ 70 ลบ.ซม. ผสมกับแอลกอฮอล์ 30 ลบ.ซม. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
( ก.) น้ำเป็นตัวทำละลายเพราะมีปริมาตรมาก
ข. น้ำเป็นตัวถูกละลายเพราะมีปริมาตรมาก
ค. แอลกอฮอล์เป็นตัวทำละลายเพราะมีสถานะเป็นของเหลว
ง. แอลกอฮอล์เป็นตัวถูกทำละลายเพราะมีสถานะเป็นของเหลว
12. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. เมื่ออุณหภูมิของสารละลายลดลงตัวถูกละลายจะละลายได้มากขึ้น
ข. เมื่ออุณหภูมิของสารละลายมากขึ้นตัวถูกละลายจะละลายได้น้อยลง
ค. เมื่ออุณหภูมิของสารละลายลดลงตัวถูกละลายจะละลายได้น้อยลง
(ง.) เมื่ออุณหภูมิของสารละลายมากขึ้นตัวถูกละลายจะ ละลายได้มากขึ้น
13.เมื่อนำต้นเทียน แช่รากในน้ำหมึกแดง ทิ้งไว้ค้างคืนจะเห็นสีแดงผ่านจากรากไปสู่ลำต้นเพราะเหตุใด
ก. น้ำหมึกแดงออสโมซิสเข้าทางรากขึ้นไปสู่ลำต้น
(ข) น้ำหมึกแดงออสโมซิลเข้าทางท่อลำเลียงน้ำไปสู่ใบ
ค. น้ำหมึกแดงออสโมซิสเข้าทางรากและแพร่ไปสู่ลำต้น
ง. น้ำหมึกแดงออสโมซิสเข้าทางราก และออสโมซิลไปสู่ลำต้น
14. ข้อความใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. การเคลื่อนที่แบบเสรีของวัตถุในโลกพลังงาน กลรวมย่อมมีค่าคงที่
ข. พลังงานรวมของวัตถุจะไม่สูญหายไปไหนแต่อาจเปลี่ยนรูปได้
ค. ผลรวมของพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ของวัตถุเรียกว่าพลังงานกลรวม
(ง.) ขณะวัตถุกำลังเคลื่อนที่จะทำให้เกิดพลังงานศักย์โน้มถ่วงขึ้น
16.ที่เรียกว่า 20 V 50 Hz นั้น เลข 50 คืออะไร
ก. 50 V
ข. 50 A
ค. 50 W/Hz
(ง.) 50 รอบ/วินาที
17. มอเตอร์ไฟฟ้าตัวหนึ่ง มีค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ 0.6 ใช้กับไฟฟ้ากระแสสลับ 220 V กระแสไฟฟ้าผ่าน 2A จะใช้พลังงานไฟฟ้าเท่าใด
ก. 150 W
ข. 250 W
ค. 260 W
(ง.) 264 W
18.หลักการทำงานของอุปกรณ์ในข้อใดที่เกิดจากการหมุนของขดลวดในสนามแม่เหล็กแล้วได้กระแสไฟฟ้าผ่านขดลวด
ก. มอเตอร์
(ข.)ไดนาโม
ค. เซลล์ไฟฟ้าเคมี
ง. เครื่องวัดกระแสไฟฟ้า
19.อัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดตัวนำไฟฟ้าใด ๆ คือข้อใด
ก. ปริมาณประจุไฟฟ้า
(ข.) ความต้านทานไฟฟ้า
ค. แรงเคลื่อนไฟฟ้า
ง. ความต่างศักย์ไฟฟ้า
20.จากข้อความต่อไปนี้
1. ประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะดูดกัน
2. ประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันจะดูดกัน
3. ประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะผลักกัน
4. อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าจะดูดอนุภาคที่ไม่มีประจุไฟฟ้า
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ข้อ 1, 2 และ 3
(ข.)ข้อ 2, 3 และ 4
ค. ข้อ 1, 3 และ 4
ง. ข้อ 1 , 2 , 3 และ 4
ง.การวัดอุณหภูมิของอากาศ
ตอนที่ 2 เรื่อง พลังงาน
1.พลังงานเริ่มแรกของมนุษย์มาจากสิ่งใด
ก. พืช ข.สัตว์
ข. สัตว์
ค. ดวงอาทิตย์
ง. บรรยากาศ
2.จากการที่เรารับประทานอาหารเข้าไป ทำให้มีพลังงานในการประกอบกิจกรรมต่างๆ แสดงว่ามีการเปลี่ยนแปลงพลังงานตามข้อใด
ก.พลังงานกล พลังงานความร้อน
ข.พลังงานเคมีพลังงานกล
ค.พลังงานความร้อน พลังงานกล
ง.พลังงานกล พลังงานเคมี
3.เตาไมโครเวฟเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปใด
ก.พลังงานความร้อน
ข.พลังงานกล
ค.พลังงานแสงสว่าง
ง.พลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
4.สารชนิดใดที่มีการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเป็นก๊าซโดยไม่ผ่านการเป็นของเหลวเรียกกระบวนการนี้ว่าอะไร
ก.การระเหิด
ข.การระเหย
ค.การเดือด
ง.การเปลี่ยนสถานะโดยเฉียบพลัน
5.ข้อใดเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
ก.ไอน้ำกลายเป็นน้ำ
ข.เกลือละลายในน้ำ
ค.โซเดียมคาร์บอเนตรวมตัวกับแคลเซียมคลอไรด์
ง.แคลเซียมคาร์ไบด์รวมตัวกับน้ำ
6.ค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้ำเดือดมีค่าเท่าใด
ก.80 cal/kg
ข.80 cal/g
ค. 540 cal/kg
ง. 540 cal/g
7.น้ำ 20 กรัมที่ 00C กลายเป็นน้ำแข็งที่ 0 0C จะมีการดูดหรือคายความร้อนเท่าใด
ก. ดูดความร้อน 100 cal
ข. ดูดความร้อน 1,600 cal
ค. คายความร้อน 1,600 cal
ง.คายความร้อน 2,000 cal
8.โลกได้รับพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ด้วยวิธีใด
ก.การนำความร้อนและการพาความร้อน
ข.การพาความร้อนและการแผ่รังสีความร้อน
ค.การนำความร้อนและการแผ่รังสีความร้อน
ง.การแผ่รังสีความร้อนเท่านั้น
9.ผลกระทบที่เกิดจากการนำพลังงานนิวเคลียร์มาใช้คืออะไร
ก.ต้นทุนค่าเชื้อเพลิง
ข.ผลิตกระแสไฟฟ้าได้น้อย
ค.กากรังสีเป็นอันตรายต่อมนุษย์
ง.ขาดวิศวกรที่มีความชำนาญ
10.ในปัจจุบันเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้ากำลังขาดแคลน นักเรียนคิดว่าประเทศไทยจะผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานชนิดใดถึงจะเหมาะสมที่สุด
ก.พลังงานแสงอาทิตย์
ข.พลังงานลม
ค.พลังงานจากปฏิกิริยาเคมี
ง.พลังงานความร้อนจากใต้พิภพ
11.ข้อใดให้หลักการไม่เหมือนกับข้ออื่น
ก.การเล่นบั้งไฟ
ข.การเคลื่อนที่ของจรวด
ค.การลอยของบอลลูน
ง.การปล่อยลมออกจากลูกโปร่ง
12.พลังงานที่มีอยู่ในวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่คืออะไร
ก.พลังงานจลน์
ข.พลังงานศักย์
ค.พลังงานกล
ง.พลังงานไฟฟ้า
13.เด็กชายแดงยกเก้าอี้จากชั้นล่างขึ้นไปชั้นบนจะมีการเปลี่ยนรูปพลังงานอย่างไร
ก.พลังงานกลเป็นพลังงานเคมี
ข.พลังงานเคมีเป็นพลังงานความร้อน
ค.พลังงานความร้อนเป็นพลังงานกล
ง.พลังงานเคมีเป็นพลังงานกล
14.ข้อใดเป็นการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกลทั้งหมด
ก.ตู้เย็น พัดลม เครื่องปิ้งขนมปัง
ข.เครื่องสูบน้ำเตารีด โทรทัศน์
ค.ตู้เย็น วิทยุหลอดไฟ
ง.สว่านไฟฟ้า พัดลม เครื่องซักผ้า
15.ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ก.ผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวด
ข.กระดาษไหม้ไฟ
ค.น้ำแข็งละลาย
ง. เกลือละลายน้ำ
16.เมื่อแคลเซียมคาร์ไบด์ทำปฏิกิริยากับน้ำจะเกิดสิ่งใดบ้าง
ก.ก๊าซออกซิเจนกับพลังงานความร้อน
ข.ก๊าซออกซิเจนกับพลังงานกล
ค.ก๊าซอะเซทิลีนกับพลังงานความร้อน
ง.ก๊าซอะเซทิลีนกับพลังงานกล
17.การทดลองที่เกิดปฏิกิริยาดูดความร้อนสังเกตได้อย่างไร
ก.มีเปลวไฟเกิดขึ้น
ข.เมื่อจับภาชนะจะรู้สึกเย็น
ค.เกิดสิ่งใหม่ต่างไปจากเดิม
ง.มีการขยายตัวของภาชนะที่รองรับ
18.ข้อใดอธิบายการถ่ายเทความร้อนโดยการพาได้ดีที่สุด
ก.เอามืออังพวยกาขณะที่น้ำกำลังเดือดแล้วรู้สึกร้อน
ข.ขณะรีดผ้า เอามือไปโดนเตารีดจะรู้สึกร้อน
ค.ยืนกลางแดดแล้วรู้สึกร้อน
ง.ใช้ช้อนโลหะจุ่มลงในน้ำแกงแล้วรู้สึกร้อน
19.เซลล์สุริยะมีการเปลี่ยนแปลงรูปพลังงานอย่างไร
ก.พลังงานความร้อนเป็นพลังงานไฟฟ้า
ข.พลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า
ค.พลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า
ง.พลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า
20.ข้อใดเกิดจากสิ่งเหลือใช้จากการเกษตรแล้วนำกลับมาใช้ใหม่
ก.ถ่านหิน
ข.น้ำมัน
ค.ก๊าซธรรมชาติ
ง.ก๊าซชีวภาพ
เฉลย
1. ก 2.ง 3.ง 4.ก 5.ค
6. ง 7.ค 8.ง 9.ค 10.ก
11. ค 12.ก 13.ก 14.ง 15.ข
16.ค 17.ข 18.ก 19.ข 20.ง
ตอนที่ 3 แรงและการเคลื่อนที่
1.ข้อใดแสดงถึงแรงผลัก
ก.ดันกำแพง
ข.เปิดประตู
ค.ปิดหน้าต่าง
ง.ปิดประตูรถ
2.ข้อใดเป็นการเคลื่อนที่แนวโค้ง
ก.การยิงธนู
ข.การเล่นเปตอง
ค.การยิงกระสุนปืนใหญ่
ง.การวิ่งผลัด
3.ปริมาณสเกลาร์มีลักษณะอย่างไร
ก.ไม่มีขนาดและทิศทาง
ข.มีทั้งขนาดและทิศทาง
ค.มีเฉพาะทิศทาง
ง.มีเฉพาะขนาด
4.ข้อใดเป็นปริมาณเวกเตอร์
ก.พื้นที่
ข.เวลา
ค.อุณหภูมิ
ง.แรง
5.ข้อใดไม่ใช่แรงพื้นฐานตามธรรมชาติ
ก.แรงแม่เหล็ก
ข.แรงจากปฏิกิริยาเคมี
ค.แรงดึงดูดระหว่างมวล
ง.แรงไฟฟ้า
6.แม่เหล็กถ้าอยู่ในสภาพปกติจะมีการวางตัวอย่างไร
ก.อยู่ในแนวตะวันออก ตะวันตก
ข.อยู่ในแนวเหนือใต้
ค.อยู่ในแนวระดับ
ง.อยู่ในแนวดิ่ง
7.ข้อใดคือทิศทางของแรงเสียดทาน
ก.ทางเดียวกับการดึงวัตถุ
ข.ทางเดียวกับการผลักวัตถุ
ค.ทางตรงข้ามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ง.ทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ
8.แรงมีหน่วยเป็นอย่างไร
ก.กรัม
ข.เมตร
ค.นิวตัน
ง.วินาที
9.นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับแรงและการเคลื่อนที่คือใคร
ก.นิวตัน
ข.ดาร์วิน
ค.เมนเดล
ง.เอดิสัน
10.เมื่อกลิ้งวัตถุไปบนพื้น ทำไมวัตถุจึงหยุดเคลื่อนที่
ก.แรงที่กลิ้งเป็นศูนย์
ข.วัตถุสัมผัสและถ่ายเทพลังงานให้พื้น
ค.วัตถุไม่มีความเร็ว
ง.มีแรงเสียดทานบนพื้นต้านการเคลื่อนที่
11.ถ้าพื้นไม่มีแรงเสียดทาน จะเป็นอย่างไร
ก.คนจะเดินไม่ได้
ข.วัตถุจะไม่หยุดนิ่ง
ค.รถจะวิ่งได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องยนต์
ง.วัตถุจะเคลื่อนที่ได้ดีกว่าเดิม
12.ถ้าล้อรถยนต์ไม่มีดอกยาง เวลาฝนตกจะเป็นอย่างไรเมื่อรถแล่น
ก.ลื่นมาก
ข.เกาะถนนดี
ค.รถแล่นไม่ได้
ง.รถแล่นเร็วมาก
13.ข้อใดใช้หลักแรงเสียดทานมากที่สุด
ก.ไม้ 2แผ่นวางซ้อนกัน
ข.กลิ้งลูกกลมบนพื้นเอียง
ค.ป้ายโฆษณาวางพิงกำแพง
ง.ตะปูตอกไม้ให้ติดแน่น
14.ยางรถยนต์ที่มีดอกมีลวดลายมากๆ จะทำให้แรงเสียดทานระหว่างล้อและถนนเป็นอย่างไร
ก.แรงเสียดทานไม่ได้เกิดจากดอกยาง
ข.ดอกยางไม่ช่วยให้ลดหรือเพิ่มแรงเสียดทาน
ค.แรงเสียดทานจะมากขึ้น
ง.แรงเสียดทานจะลดลง
15.เมื่อรถกำลังแล่นไปบนถนน เมื่อรถเบรกแรงเสียดทานระหว่างล้อกับถนนจะมีทิศอย่างไร
ก.จากหน้ารถชี้ไปทางหลังรถ
ข.จากหลังรถชี้ไปทางหน้ารถ
ค.จากด้านขวาของรถชี้ไปทางด้านซ้าย
ง.จากด้านซ้ายของรถชี้ไปทางด้านขวา
16.ข้อใดแสดงว่าถ้าไม่มีแรงเสียดทานรถจะแล่นไม่ได้คือข้อใด
ก.รถไต่ขึ้นเนินสูงต้องเร่งเครื่อง
ข.รถแล่นบนพื้นขรุขระจะกระโดดขึ้นลง
ค.รถแล่นลงมาเนินเขามีความเร่งเร็ว
ง.รถแล่นบนพื้นลื้นล้อจะหมุน แต่ตัวรถไม่เคลื่อนที่
17.รถคันหนึ่งมีความเร็วเริ่มต้นถึงความเร็วสุดท้ายแตกต่างกัน 8 เมตร/วินาทีใช้เวลาต่างกัน 4นาทีจงหาความเร่งของรถคันนี้
ก. 1 เมตร/วินาที2
ข. 2 เมตร/วินาที2
ค. 3 เมตร/วินาที2
ง. 4 เมตร/วินาที2
18.ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก.ความเร่งและแรงลัพธ์ที่มากกระทำกับวัตถุมีทิศทางเดียวกัน
ข.ขนาดของความเร่งจะแปรผกผันกับขนาดของแรงลัพธ์
ค.ขนาดของความเร่งจะแปรผันตรงกับมวลของวัตถุ
ง.ความเร่งและความเร็วมีค่าเท่ากัน
19.แรงเสียดทาน มีความหมายตรงกับข้อใด
ก.แรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่
ข.แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ค.แรงยึดเหนี่ยวของพื้นผิว
ง.แรงดึงดูดระหว่างมวลของวัตถุ
20.การกระทำในข้อใดเป็นการลดแรงเสียดทาน
ก.การใช้ล้อในยานพาหนะ
ข.การทำดอกยางในยางรถยนต์
ค.พื้นรองเท้าที่มีลวดลาย
ง.ถนนที่มีผิวขรุขระ
21.วัตถุในข้อใดทำให้เกิดแรงเสียดทานมากที่สุด
ก.วัตถุที่มีพื้นผิวเรียบ
ข.วัตถุที่มีพื้นผิวขรุขระ
ค.วัตถุที่มีมวลมาก
ง.วัตถุที่มีมวลน้อย
22.เมื่อพิงบันไดกับกำแพงสูงที่ตีนบันไดมักมียางหุ้ม เกี่ยวข้องกับแรงเสียดทานอย่างไร
ก.ลดแรงเสียดทานเพื่อให้ยกบันไดง่าย
ข.ลดแรงเสียดทานเพื่อให้เลื่อนง่าย
ค.เพิ่มแรงเสียดทานเพื่อให้ยกบันไดยาก
ง.เพิ่มแรงเสียดทานให้เลื่อนยาก
23.คานอันหนึ่งยาว 2 เมตร มีน้ำหนักถ่วงที่ปลายคานดังรูป มีจุดหมุนอยู่ตรงกลางคาน น้ำหนักถ่วง W เป็นเท่าใด คานจึงจะสมดุล
ก. 50 kg
ข. 100 kg
ค. 75 Kg
ง. 200 Kg
24.คานในรูปข้อ 23 น้ำหนักกดลงบนจุดหมุนมีค่าเท่าใด
ก. 0 Kg
ข. 100 Kg
ค. 75 Kg
ง. 300 Kg
25.คานเบาอันหนึ่งยาว 70 เซนติเมตร มีน้ำหนัก 6 กิโลกรัม และ 8 กิโลกรัม กดที่ปลายคานแต่ละข้าง จะต้องวางจุดหมุนตรงไหน คานจึงจะสมดุล
ก.วางที่ปลายคานตรงจุด 70 เซนติเมตร
ข.35 เซนติเมตรจากก้อนแรก
ค.40 เซนติเมตรจากก้อนแรก
ง.60 เซนติเมตรจากก้อนแรก
26.แขวนน้ำหนักกับคานดังรูปจะต้องแขวนคานตรงจุดไหนจึงจะสมดุล
ก. จุด A
ข. จุด B
ค. จุด C
ง. จุด D
27.ออกแรงลากท่อนไม้ 5 กิโลกรัม บนพื้นโต๊ะดังรูป ถ้าท่อนไม้เคลื่อนที่สม่ำเสมอและแรงดึงในเส้นเชือกเท่ากับ 19.6 นิวตัน จะมีสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานระหว่างท่อนไม้และพื้นโต๊ะเท่าใด
ก.0.2
ข. 0.4
ค. 0.6
ง. 0.8
28.ข้อใดมีความหมายเกี่ยวกับกฏของนิวตันข้อที่ 1
ก.แรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา
ข.พลังงานไม่สูญหายไปจากโลก
ค.แรงที่ใช้ในการเคลื่อนที่มีค่าเท่ากับแรงต้านการเคลื่อนที่
ง.ความเร่ง และแรงลัพธ์มีทิศทางเดียวกัน
29.วัตถุที่ตกอย่างอิสระในแนวดิ่ง จะมีความเร็วมากที่สุดที่ตำแหน่งใด
ก.จุดเริ่มต้น
ข.ช่วงกึ่งกลางของความสูง
ค.ก่อนถึงพื้นโลก
ง.ตกกระทบพื้นโลก
30.ข้อใดไม่ใช่การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
ก.การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง
ข.การเคลื่อนที่แนวราบ
ค.การเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้ง
ง.การเคลื่อนที่แนวดิ่ง
เฉลย
1. ก 2. ค 3. ง 4 .ง. 5. ข
6.ข 7. ค 8.ค 9.ก 10.ง
11. ก 12.ก 13.ข 14.ค 15.ข
16.ง 17.ข 18.ก 19.ข 20.ก
21.ค 22.ง 23.ข 24.ก 25.ค
26.ข 27.ข 28.ก 29.ง 30.ค
ตอนที่ 4 เรื่องบรรยากาศ
1.ข้อใดเป็นความหมายของบรรยากาศ
ก.อากาศที่อยู่บริเวณจุดใดจุดหนึ่ง
ข.อากาศที่ล้อมรอบตัวเราและของโลก
ค.อากาศที่บริสุทธิ์ไม่มีสารพิษเจือปน
ง.อากาศที่อยู่ในระดับความสูง 50 กม.ขึ้นไป
2.ถ้าโลกเราไม่มีอากาศห่อหุ้ม อุณหภูมิในช่วงเวลากลางวันและกลางคืนจะเป็นอย่างไร
ก.อุณหภูมิช่วงกลางวันสูงมาก ช่วงกลางคืนต่ำมาก
ข.อุณหภูมิช่วงกลางวันและช่วงกลางคืนเท่ากัน
ค.อุณหภูมิช่วงกลางวันต่ำมาก ช่วงกลางคืนสูงมาก
ง.อุณหภูมิช่วงกลางวันและช่วงกลางคืนคงที่
3.อากาศที่อยู่รอบตัวเราโดยปกติจัดเป็นอากาศแบบใด
ก.อากาศแห้ง
ข.อากาศชื้น
ค.อากาศที่มีแก๊สไฮโดรเจนมากที่สุด
ง.อากาศที่มีแก๊สออกซิเจนมาก
4.เราไม่พบส่วนประกอบใดในอากาศแห้ง
ก.ไอน้ำ
ข.ฝุ่นละออง
ค.แก๊สเฉื่อย
ง.แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
5.รังสีอัลตราไวโอเลตมีผลต่อร่างกายมนุษย์อย่างไร
ก.ทำให้ผิวหนังแข็งแรง
ข.ผิวหนังจะมีสีซีดลง
ค.ผิวหนังจะเหี่ยวย่น
ง.เป็นมะเร็งที่ผิวหนัง
6.การทำนายสภาพของบรรยากาศล่วงหน้าคืออะไร
ก.การตรวจสอบอากาศ
ข.การพยากรณ์อากาศ
ค.การวัดทัศนวิสัย
7.บรรยากาศชั้นใดมีการเปลี่ยนแปลงของอากาศมากที่สุด
ก.สตราโตสเฟียร์
ข.โทรโพสเฟียร์
ค.เทอร์โมสเฟียร์
ง.มีโซสเฟียร์
8.ชั้นโอโซนเป็นชั้นที่มีระยะความสูงของพื้นโลกประมาณเท่าไร
ก.10-50 กิโลเมตร
ข.50-100 กิโลเมตร
ค.80-600 กิโลเมตร
ง.600 กิโลเมตรขึ้นไป
9.มนุษย์เราอาศัยอยู่ในบรรยากาศชั้นใด
ก.เอกโซสเฟียร์
ข.มีโซสเฟียร์
ค.สตราโตสเฟียร์
ง.โทรโพสเฟียร์
10.แก๊สโอโซนมีประโยชน์อย่างไร
ก.ช่วยลดปริมาณสารพิษในอากาศ
ข.ช่วยดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลต
ค.ช่วยเพิ่มปริมาณแก๊สออกซิเจน
ง.ช่วยให้อากาศสดชื่น
11.สาร CFC ประกอบด้วยธาตุใดตามลำดับ
ก.คลอรีน ฟลูออรีน คาร์บอน
ข.คลอรีน ฟอสฟอรัส แคดเมียม
ค.คาร์บอน ฟลูออรีน คลอรีน
ง.คาร์บอน ฟอสฟอรัส แคดเมียม
12.เมื่อมีสาร CFC ในชั้นบรรยากาศมากๆ ทำให้เกิดผลอย่างไร
ก.ช่วยให้อากาศเย็นลง
ข.ทำให้อากาศร้อนจัด
ค.ทำให้มนุษย์เป็นโรคมะเร็งที่ผิวหนัง
ง.ทำให้มีแก๊สโอโซนมากขึ้น
13.รังสีจากดวงอาทิตย์มีประโยชน์ในการสังเคราะห์วิตามินชนิดใดในร่างกาย
ก.วิตามินเอ
ข.วิตามินบีหนึ่ง
ค.วิตามินซี
ง.วิตามินดี
14.ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
ก.ตรวจวัดระดับเมฆและติดตามลักษณะของเมฆ
ข.ตรวจการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์
ค.บอกข้อมูลอุณหภูมิต่างๆ บนพื้นโลก
ง.หาอุณหภูมิของชั้นบรรยากาศ
15.ดาวเทียมที่โคจรอยู่รอบโลกส่วนใหญ่โคจรด้วยความเร็วตรงกับข้อใด
ก.เท่ากับความเร็วโคจรรอบโลก
ข.น้อยกว่าความเร็วโคจรรอบโลก
ค.มากกว่าความเร็วโคจรรอบโลก
ง.ความเร็วเท่าใดก็ได้แล้วแต่ผู้ออกแบบ
16.การเคลื่อนที่ของอากาศเกิดขึ้นได้เนื่องจากสาเหตุใด
ก.ความแตกต่างของอุณหภูมิ
ข.การหมุนรอบดวงอาทิตย์
ค.ความสูงของระดับน้ำทะเล
ง.ความแตกต่างของภูมิประเทศ
17.จากรูปที่เป็นเส้นคดไปคดมาในแผนที่อากาศคือข้อใด
ก.เส้นแสดงแม่น้ำ
ข.เส้นแบ่งเขตอุณหภูมิ
ค.เส้นแสดงความกดอากาศ
ง.เส้นแสดงทิศทางที่ลมพัด
18.ข้อใดมีความสัมพันธ์กัน
ก.ไฮโดรมิเตอร์– วัดอุณหภูมิ
ข. แอลติมิเตอร์– บอกความสูง
ค.ศรลม – วัดความเร็วลม
ง.อะมิโนมิเตอร์– วัดความกดอากาศ
19.ข้อใดแสดงถึงขอบเขตที่กว้างใหญ่ที่สุด
ก.กาแล็กซีทางช้างเผือก
ข.กาแล็กซี
ค.ดาราจักร
ง.เอกภพ
20.ห้องประชุมแห่งหนึ่งกว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร สูง 2 เมตร มีมวลอากาศบรรจุอยู่ 200กิโลกรัม ความหนาแน่นของอากาศในห้องนี้มีค่าเท่าใด
ก.0.40 kg/m2
ข. 0.96 kg/m3
ค. 1.04 kg/m3
ง. 2.02 kg/m3
21.ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับแรงดันอากาศ
ก.การติดสติ๊กเกอร์รูปนกที่กระจกรถยนต์
ข.การสูบหมึกของปากกาหมึกซึม
ค.การถ่ายเทน้ำโดยวิธีกาลักน้ำ
ง.การดูดน้ำในแก้วโดยใช้หลอดกาแฟ
22.ข้อใด ไม่ใช่การทดลองที่แสดงว่ามีไอน้ำอยู่ในอากาศ
ก.เอาน้ำแข็งใส่แก้วตั้งทิ้งไว้สักครู่จะมีหยดน้ำมาเกาะรอบๆ แก้ว
ข.เอาครอบแก้วครอบต้นไม้แล้วมีไอน้ำเกาะที่ผิวแก้วด้านใน
ค.นำเกลือใส่ถ้วยทิ้งไว้ 1 คืน เกลือจะชื้น
ง.นำจุนสีสะตุตั้งทิ้งไว้ในอากาศ สีขาวจะเปลี่ยนเป็นสีฟ้า
23.แก๊สที่มีมากที่สุดในอากาศคือข้อใด
ก.ออกซิเจน
ข.คาร์บอนไดออกไซด์
ค.อาร์กอน
ง.ไนโตรเจน
24.อากาศเป็นสสารด้วยเหตุผลใด
ก.มีแก๊สที่สิ่งมีชีวิตต้องการ
ข.มีแรงกดดัน
ค.มีตัวตนและสัมผัสได้
ง.มีความหนาแน่น
25.เครื่องมือวัดความกดอากาศคือข้อใด
ก.ไฮโดรมิเตอร์
ข.บารอมิเตอร์
ค.เทอร์มอมิเตอร์
ง.แอลติมิเตอร์
26.อาชีพใดที่ได้รับผลกระทบจากสภาพดินฟ้าอากาศมากที่สุด
ก.เกษตรกร นักบิน ตำรวจจราจร
ข.ชาวประมง คาขาย ข้าราชการ
ค.ทำนาเกลือ ตำรวจจราจร ค้าขาย
ง.ชาวประมง เกษตรกร เรือเดินทะเล
27.ระบบสุริยะอยู่ในกาแล็กซีใด
ก.แอนโดรเมดา
ข.แมกเจลแลน
ค.หลายกาแล็กซีรวมกัน
ง.ทางช้างเผือก
28.ในระบบสุริยะดาวดวงใดมีขนาดใหญ่ที่สุด
ก.ดาวพฤหัสบดี
ข.ดาวเสาร์
ค.ดาวอังคาร
ง.ดาวยูเรนัส
29.เครื่องบินโดยสารระหว่างประเทศ ทำการบินในชั้นบรรยากาศใด
ก.สตราโตสเฟียร์
ข.โทรโพสเฟียร์
ค.มีโซสเฟียร์
ง.เอกโซสเฟียร์
30. ณ อุณหภูมิหนึ่งอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำมีค่าเท่ากับ 150 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร แต่มีไอน้ำอยู่จริง 60 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร อยากทราบว่าอากาศขณะนั้นมีค่าความชื้นสัมพัทธ์เท่าใด
ก.ร้อยละ 10
ข. ร้อยละ 25
ค.ร้อยละ 40
ง.ร้อยละ 90
เฉลย
1.ข 2.ก 3.ค 4.ก 5.ง
6.ข 7.ข 8.ก 9.ง 10.ข
11ค 12.ค 13.ง 14.ข 15.ก
16.ก 17.ก 18.ข 19.ง 20.ค
21.ก 22.ข 23.ง 24.ค 25.ข
26.ง 27.ง 28.ก 29.ก 30.ค
ข้อมูลจาก
เกร็ดความรู้ทางวิทยาศาสตร์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)