ข้อสอบ O-NET วิชาฟิสิกส์ ( แก้ไข )
ข้อสอบ O-NET วิชาฟิสิกส์ ( แก้ไข )
1. ชายคนหนึ่งขับเรือได้ระยะทาง 88.00 กิโลเมตร ในเวลา 3.50 ชั่วโมง เขาขับเรือด้วยอัตราเร็ว
ที่เหมาะสมกี่กิโลเมตรต่อชั่วโมง
1 . 25.1429
2. 25.143
3. 25.14
4. 25.1
2. รถยนต์คันหนึ่งสามารถเปลี่ยนความเร็วจาก 36 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็น 108 กิโลเมตรต่อ
ชั่วโมงในเวลา 1 ใน 6 นาที จงหาว่ารถยนต์คันนี้มีความเร่งเท่าใด
1. 1.0 m/s2
2. 2.0 m/s2
3. 3.0 m/s2
4. 4.0 m/s2
3. ปล่อยวัตถุให้ตกลงในแนวดิ่ง เมื่อวัตถุกระทบพื้นพอดี ความเร็ว และความเร่งของวัตถุเป็น
อย่างไร
1. ทั้งความเร็วและความเร่งมีค่าสูงสุด
2. ความเร็วเป็นศูนย์ ความเร่งคงตัว
3. ความเร็วมีค่าสูงสุด ความเร่งคงตัว
4. ความเร็ว และความเร่งมีค่าเป็นศูนย์
4. ผูกวัตถุมวล 500 กรัม ด้วยเชือกยาว 1 เมตร แกว่งเป็นวงกลมในแนวระดับด้วยอัตราเร็ว
20 เมตร / วินาที จงหาขนาดของแรงสู่ศูนย์กลางของวัตถุมีค่ากี่นิวตัน
1. 100 นิวตัน
2. 200 นิวตัน
3. 300 นิวตัน
4. 400 นิวตัน
5. สปริงตัวหนึ่งมีค่าคงตัว 500 นิวตันต่อเซนติเมตร เมื่อออกแรงดึงสปริงจากตำแหน่งสมดุล
ปรากฏว่าสปริงยืดออกเป็นระยะ 20 เซนติเมตร จงหาขนาดของแรงดึงสปริงมีค่ากี่นิวตัน
1. 5 กิโลนิวตัน
2. 10 กิโลนิวตัน
3. 15 กิโลนิวตัน
4. 20 กิโลนิวตัน
2
6. ข้อใดกล่าวผิดสำหรับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
1. แรงและความเร่งมีค่าคงตัวเสมอ
2. วัตถุตกไกลสุดเมื่อยิงเป็นมุม 45 องศา กับแนวระดับ
3. ณ ตำแหน่งสูงสุด ความเร็วมีค่าเป็นศูนย์
4. ณ ตำแหน่งสูงสุด แรงกระทำตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่
7. วัตถุเคลื่อนที่ในแนววงกลมด้วยอัตราเร็ว และรัศมีคงตัว ข้อความใดไม่ถูกต้อง
1. แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าคงตัว
2. คาบเวลาของการเคลื่อนที่คงตัว
3. อัตราเร็วเชิงมุมคงตัว
4. อัตราเร่งของวัตถุคงตัว
8. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้เกี่ยวกับการขับรถจักรยานยนต์เลี้ยวโค้ง
ก. ขณะเลี้ยวรถด้วยอัตราเร็วมาก ต้องเอียงรถมากกว่าเลี้ยวรถด้วยอัตราเร็วน้อย
ข. เมื่ออัตราเร็วคงตัวถนนโค้งที่มีรัศมีความโค้งน้อยต้องเอียงตัวรถมากกว่าถนนโค้งที่มี
รัศมีความโค้งมาก
คำตอบที่ถูกคือ
1. ถูกทั้งข้อ ก และ ข้อ ข 2. ข้อ ก ถูก ข้อ ข ผิด
3. ข้อ ก ผิด ข้อ ข ถูก 4. ผิดทั้งข้อ ก และข้อ ข
9. การเคลื่อนที่ของวัตถุแบบซิมเปิลฮาร์มอนิก ข้อสรุปที่ถูกต้องที่สุด คือ
1. วัตถุมีความเร็วและความเร่งแปรผันตรงกับการกระจัดโดยมีแอมพลิจูดคงที่
2. วัตถุมีความเร็วแปรผันตรงกับการกระจัด แต่ความเร่งเป็นศูนย์เมื่อมีการกระจัดมากที่สุด
โดยมีแอมพลิจูดคงที่
3. วัตถุมีความเร่งแปรผันตรงกับการกระจัด แต่ความเร็วเป็นศูนย์เมื่อมีการกระจัดมากที่สุด
โดยมีแอมพลิจูดคงที่
4. วัตถุมีความเร่งแปรผันตรงกับการกระจัด แต่ความเร็วแปรผกผันกับการกระจัดนั้น โดย
มีแอมพลิจูดไม่คงที่
10. ในการเคลื่อนที่แบบคลื่นนั้นพลังงานจากการสะบัดปลายเชือกด้านหนึ่งจะถ่ายทอดไปยังปลาย
เชือกอีกด้านหนึ่งได้แสดงว่า
1. พลังงานถ่ายทอดไปพร้อมกับการเคลื่อนที่ของคลื่น
2. พลังงานถ่ายทอดหลังจากการเคลื่อนที่ของคลื่นผ่านไปแล้ว
3. พลังงานจะถ่ายทอดไปก่อนที่คลื่นจะเคลื่อนที่มาถึง
4. พลังงานจากคลื่นจะถ่ายโอนให้อนุภาคและอนุภาคจะเคลื่อนที่ไปยังปลายเชือก
3
11. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อความใดกล่าวผิด
1. การสะท้อนของคลื่นน้ำความยาวคลื่นไม่เปลี่ยน
2. การสะท้อนของคลื่นเชือกปลายอิสระเฟสไม่เปลี่ยน
3. การหักเหของคลื่นอัตราเร็วเปลี่ยน
4. การหักเหเกิดขึ้นได้ในตัวกลางเดียวกัน
12. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
1. เมื่อคลื่นเคลื่อนที่เปลี่ยนตัวกลางความถี่เปลี่ยนแปลงเสมอ
2. อัตราเร็วของคลื่นในน้ำลึกย่อมน้อยกว่าอัตราเร็วของคลื่นในน้ำตื้น
3. การหักเหของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อเปลี่ยนทิศทางเคลื่อนที่
4. มุมวิกฤตเกิดได้เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากน้ำตื้นไปน้ำลึก
13. ข้อความข้อใดเป็นหลักการของฮอยเกนส์
1. จุดทุกจุดถ้าถูกรบกวนสามารถเป็นแหล่งกำเนิดคลื่นได้
2. คลื่นเมื่อผ่านสิ่งกีดขวางบางส่วนของคลื่นสามารถเลี้ยวเบนได้
3. แต่ละจุดบนหน้าคลื่นสามารถถือได้ว่าเป็นแหล่งกำเนิดของคลื่นใหม่ได้
4. เมื่อคลื่นผ่านช่องแคบเล็ก ๆ จะเกิดการแทรกสอดกันได้
14. คลื่นเหนือเสียงจากเครื่องโซนาร์ ส่งคลื่นลงไปในทะเลตรง ๆ ด้วยความเร็วคลื่น 1500
เมตรต่อวินาที ปรากฎว่าได้รับเสียงสะท้อนกลับมาในเวลา 1.2 วินาที จงหาความลึกของทะเล
บริเวณนั้นมีค่ากี่เมตร
1. 600 เมตร
2. 900 เมตร
3. 1200 เมตร
4. 1800 เมตร
15. สถานีวิทยุกระจายเสียงชุมชนแห่งหนึ่งส่งกระจายเสียงในระบบเอฟ เอ็ม ด้วยความถี่คลื่น 100
เมกกะเฮิรตซ์ ความยาวคลื่นวิทยุชุมชนที่ส่งออกจากสถานีมีค่ากี่เมตร
1. 1.5 เมตร
2. 3.0 เมตร
3. 6.0 เมตร
4. 10.0 เมตร
4
16. สมบัติข้อใดของคลื่นไมโครเวฟที่ทำให้อาหารสุกได้
1. ทะลุผ่านวัตถุได้ดี
2. มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุ
3. ทำให้โมเลกุลของน้ำสั่น
4. เมื่อผ่านวัตถุคลื่นจะสะท้อนไปมาในวัตถุได้
17. ข้อความใดต่อไปนี้ กล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับรังสีอัลตราไวโอเลต
1. มีประโยชน์ในการฆ่าเชื้อโรค
2. มองเห็นเป็นสีม่วงอ่อนและสามารถผ่านแผ่นแก้วบาง ๆ ได้
3. สามารถทำให้สารเคมีบางชนิดเรืองแสงได้จึงมีการนำไปใช้ส่องเสื้อผ้าที่ทาด้วยสาร
เรืองแสงของผู้แสดงบนเวทีจะช่วยให้เห็นเป็นสีสันที่น่าตื่นตามากขึ้น
4. ถ้าโอโซนในชั้นบรรยากาศชั้นบนลดน้อยลง การดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวง
อาทิตย์ก็จะลดลงไปด้วย จนอาจได้รับอันตรายจากรังสีนี้ที่ตกลงสู่โลกได้
18. ทฤษฎีอะไรที่สามารถนำไปอธิบายธรรมชาติของอะตอมได้อย่างสมบูรณ์
1. ทฤษฎีสัมพัทธภาพของไอนสไตน์
2. ทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัม
3. ทฤษฎีอะตอมของโบร์
4. ทฤษฎีอะตอมของรัทเธอร์ฟอร์ด
19. รังสีแอลฟามีอำนาจในการทะลุผ่านน้อยกว่ารังสีชนิดอื่นที่ออกจากธาตุกัมมันตรังสีเนื่องจาก
1. รังสีแอลฟามีคุณสมบัติในการทำให้สารที่รังสีผ่านแตกตัวเป็นไอออนได้ดี
2. รังสีแอลฟามีพลังงานต่ำกว่ารังสีชนิดอื่น
3. รังสีแอลฟาไม่มีประจุไฟฟ้า
4. รังสีแอลฟามีอัตราส่วนประจุต่อมวลมากที่สุด
20. รังสีใดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติจากนิวเคลียสของธาตุ
1. รังสีเอกซ์
2. รังสีคาโทด
3. รังสีอัลตราไวโอเลต
4. รังสีแอลฟา
21. ดีบุกมีเลขอะตอมเท่ากับ 50 และเลขมวล 120 จะมีจำนวนนิวคลีออนเท่าใด
1. 20
2. 50
3. 70
4. 120
5
22.ไอโซโทปของธาตุชนิดเดียวกัน นิวเคลียสของธาตุจะมีอนุภาคตามข้อใด
1. โปรตอนเท่ากัน นิวตรอนต่างกัน
2. โปรตอนต่างกัน นิวตรอนเท่ากัน
3. โปรตอนเท่ากัน นิวตรอนเท่ากัน
4. โปรตอนต่างกัน นิวตรอนต่างกัน
23. มีธาตุไอโอดีน- 131 ซึ่งมีเวลาครึ่งชีวิต 8 วัน อยู่จำนวน 1 กรัม จะใช้เวลานานกี่วันจึงจะ
เหลือธาตุดังกล่าวอยู่เพียง 0.125 กรัม
1. 16 วัน
2. 24 วัน
3. 32 วัน
4. 64 วัน
24. สารกัมมันตรังสีจำนวนหนึ่ง มีครึ่งชีวิต 30 นาที เมื่อเวลาผ่านไป 2 ชั่วโมง จำนวนที่สลาย
ไปจะมีค่าเป็นกี่เท่าของจำนวนเริ่มต้น
1 . 1 / 8
2. 1 / 16
3. 7 / 8
4. 15 / 16
25. การควบคุมปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชัน ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต้อง
ควบคุมสิ่งใด
1. เชื้อเพลิงนิวเคลียร์
2. ปริมาณรังสี
3. จำนวนนิวตรอน
4. อุณหภูมิ
เฉลย
1. 4 2. 2 3. 3 4. 2 5. 2
6. 3 7. 1 8. 1 9. 3 10. 1
11. 4 12. 4 13. 3 14. 2 15. 2
16. 3 17. 2 18. 2 19. 1 20. 4
21. 4 22. 1 23. 2 24. 4 25. 3
คลังข้อสอบฟิสิกส์ชุดที่ 1
คลังข้อสอบฟิสิกส์ชุดที่ 1
1.ถ้าเปรียบเทียบความร้อนกับกระแสไฟฟ้า อุณหภูมิเปรียบได้กับปริมาณใด
1) ความต้านทานไฟฟ้า
2) ความต่างศักย์ไฟฟ้า
3) พลังงานไฟฟ้า
4) กำลังไฟฟ้า
2.นร.นำวัตถุชิ้นหนึ่งไปวางบนผิวน้ำ ปรากฏว่าวัตถุจมน้ำ ต่อมาจึงนำวัตถุชิ้นเดิมไปวางบนผิวของเหลวชนิดหนึ่ง ทำให้วัตถุนั้นลอยบนของเหลวได้ ข้อสรุปใดถูกต้อง
1) วัตถุ มากกว่า ของเหลว
2) วัตถุ น้อยกว่า น้ำ
3) ของเหลว น้อยกว่า น้ำ
4) น้ำ น้อยกว่า ของเหลว
3. เซลล์ไฟฟ้า 4 เซลล์ ต่ออนุกรมกันโดยกลับขั้ว 1 เซลล์ กำหนดให้แต่ละเซลล์มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเซลล์ละ 1.5V และมีความต้านทานภายในเซลล์ 0.5 จงหากระแสไฟฟ้าในระบบ
1) 0.15A
2) 0.20A
3) 0.25A
4) 0.30A
4. โลหะมวล 2 กิโลกรัม อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ในการทำให้โลหะนี้มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น
15 องศาเซลเซียส จะต้องใช้ความร้อนคิดเป็น 80 ของความร้อนที่ทำให้น้ำแข็ง 100 กรัมที่
อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส กลายเป็นน้ำเดือดพอดี จงหาค่าความจุความร้อนจำเพาะของโลหะ
กำหนดให้ Cน้ำ= 1 Cal/g◦C Lน้ำแข็ง= 80 Cal/g
1) 0.33 Cal/g◦C
2) 0.48 Cal/g◦C
3) 0.60 Cal/g◦C
4) 0.75 Cal/g◦C
5. ไอน้ำเดือด 100 กรัม 100 องศาเซลเซียส คายความร้อน 220 กิโลจูล แล้วจะมีอุณหภูมิเป็นเท่าใด กำหนดให้
I. ความร้อนแฝงจำเพาะของน้ำแข็งเท่ากับ 333 จูลต่อกรัม
II. ความร้อนแฝงจำเพาะของน้ำเท่ากับ 2256 จูลต่อกรัม
III. ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 จูลต่อกรัม.องศาเซลเซียส
เฉลย
1) ตอบ 2
2) ตอบ 4
3) ตอบ 1
4) ตอบ 2
5) ตอบ 100◦C
1.ถ้าเปรียบเทียบความร้อนกับกระแสไฟฟ้า อุณหภูมิเปรียบได้กับปริมาณใด
1) ความต้านทานไฟฟ้า
2) ความต่างศักย์ไฟฟ้า
3) พลังงานไฟฟ้า
4) กำลังไฟฟ้า
2.นร.นำวัตถุชิ้นหนึ่งไปวางบนผิวน้ำ ปรากฏว่าวัตถุจมน้ำ ต่อมาจึงนำวัตถุชิ้นเดิมไปวางบนผิวของเหลวชนิดหนึ่ง ทำให้วัตถุนั้นลอยบนของเหลวได้ ข้อสรุปใดถูกต้อง
1) วัตถุ มากกว่า ของเหลว
2) วัตถุ น้อยกว่า น้ำ
3) ของเหลว น้อยกว่า น้ำ
4) น้ำ น้อยกว่า ของเหลว
3. เซลล์ไฟฟ้า 4 เซลล์ ต่ออนุกรมกันโดยกลับขั้ว 1 เซลล์ กำหนดให้แต่ละเซลล์มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเซลล์ละ 1.5V และมีความต้านทานภายในเซลล์ 0.5 จงหากระแสไฟฟ้าในระบบ
1) 0.15A
2) 0.20A
3) 0.25A
4) 0.30A
4. โลหะมวล 2 กิโลกรัม อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ในการทำให้โลหะนี้มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น
15 องศาเซลเซียส จะต้องใช้ความร้อนคิดเป็น 80 ของความร้อนที่ทำให้น้ำแข็ง 100 กรัมที่
อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส กลายเป็นน้ำเดือดพอดี จงหาค่าความจุความร้อนจำเพาะของโลหะ
กำหนดให้ Cน้ำ= 1 Cal/g◦C Lน้ำแข็ง= 80 Cal/g
1) 0.33 Cal/g◦C
2) 0.48 Cal/g◦C
3) 0.60 Cal/g◦C
4) 0.75 Cal/g◦C
5. ไอน้ำเดือด 100 กรัม 100 องศาเซลเซียส คายความร้อน 220 กิโลจูล แล้วจะมีอุณหภูมิเป็นเท่าใด กำหนดให้
I. ความร้อนแฝงจำเพาะของน้ำแข็งเท่ากับ 333 จูลต่อกรัม
II. ความร้อนแฝงจำเพาะของน้ำเท่ากับ 2256 จูลต่อกรัม
III. ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 จูลต่อกรัม.องศาเซลเซียส
เฉลย
1) ตอบ 2
2) ตอบ 4
3) ตอบ 1
4) ตอบ 2
5) ตอบ 100◦C
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์ A-NET ปี 2549
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์A-NET ปี 2549
จัดทำโดย
1. นางสาว เบญจรัตน์ ตะบุตร เลขที่ 6
2. นางสาว นันทนิต คบมิตร เลขที่ 10
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/7
1. บันไดยาว 2.5 เมตร มีน้ำหนัก 40 นิวตัน วางพิงกำแพงเกลี้ยง(ไม่คิดแรงเสียดทาน) จงหาว่าแรงเสียดทานระหว่างพื้นล่างกับบันได ที่ทำให้บันไดวางนิ่งอยู่ได้ ดังรูปมีค่ากี่นิวตัน
1. 120
2. 360
3. 400
4. 600
เฉลย ก.
1. ชายสองคนช่วยกันหามวัตถุมวล 90 กิโลกรัม ซึ่งแขวนอยู่ที่จุดกึ่งกลางคานสม่ำเสมอมวล 10 กิโลกรับ ถ้าชายคนที่หนึ่งแบกคานตรงตำแหน่งจากจุดที่แขวนวัตถุ 0.5 เมตร และรับน้ำหนัก 600 นิวตัน ชายคนที่สองจะแบกคานที่ตำแหน่งจากจุดแขวนวัตถุเท่าไร
1. 0.13 m
2. 0.25 m
3. 0.50 m
4. 0.75 m
เฉลย ง.
3. มวล 20 กิโลกรัม วางบนพื้นฝืดแรง F ดังรูป ที่ทำให้มวลนี้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ มีค่ากี่นิวตัน ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างพื้นกับมวลนี้เป็น 0.5
1. 90.90
2. 100
3. 125
4. 150
เฉลย 1.
4. ยิงลูกปืนมวล 12 กรัม ไปยังแท่งไม้ซึ่งตรึงยึดอยู่กับที่ ปรากฏว่าลูกปืนฝังเข้าไปในเนื้อไม้เป็นระยะ 5 เซนติเมตร ถ้าความเร็วของลูกปืนคือ 200 เมตร/วินาที แรงต้านทานเฉลี่ยของเนื้อไม้ต่อลูกปืนเป็นกี่นิวตัน
1. 4800
2. 6000
3. 9000
4. 12000
เฉลย 1.
5. มวล 3 ก้อน ขนาด 5 , 10 และ 15 กิโลกรัม วางโยงกันด้วยเชือกเบาและโต๊ไม่มีความเสียดทาน เมื่อปล่อยให้เคลื่อนที่ แรงลัพธ์ที่กระทำกับมวล 15 กิโลกรัม เป็นกี่นิวตัน
1. 10
2. 15
3. 20
4. 25
เฉลย 4.
6. สถานการณ์ข้างล่างต่อไปนี้
1. เมื่อคนโดยสารลงจากรถประจำทางในขณะที่รถกำลังเคลื่อนที่ คนโดยสารจะถลาไปข้างหน้า
2. คนยืนในรถ และรถกำลังเคลื่อนที่ไปข้างหน้า เมื่อหยุดรถอย่างกะทันหันเป็นเหตุให้คนในรถเซไปข้างหน้า
3. นักเรียนยืนบนสเกตโดยหันหน้าเข้าหากำแพง แล้วใช้มือผลักกำแพง ปรากฏว่าตัวนักเรียนเคลื่อนที่ถอยหลังออกห่างจากกำแพง
ข้อใดอธิบายได้ด้วยกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตัน
1. ข้อ 1 และ 2
2. ข้อ 2 และ 3
3. ข้อ 1 และ 3
4. ข้อ 3 เท่านั้น
เฉลย 4.
7. จากรูป แรง F1 และ F2 กระทำต่อวัตถุมวล 5 กิโลกรัม ให้เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง a รูปใดถูกต้อง
1.
2.
3.
4.
เฉลย 3.
8. สมมติว่ามีการจำลองมวลมาตรฐาน 1 กิโลกรัม จากกรุงปารีสมาไว้ที่กรุงเทพฯ น้ำหนักและมวลของมวลจำลองนี้ แตกต่างกับที่กรุงปารีสเท่าใด (ถ้า g ที่กรุงปารีสและกรุงเทพฯเป็น 9.81 และ 9.78 เมตร/วินาที2 ตามลำดับ)
1. มวลมีขนาดเท่ากันและน้ำหนักเท่ากัน
2. มวลมีขนาดต่างกัน 0.03 กิโลกรัมแต่
3. มวลมีขนาดเท่ากัน แต่น้ำหนักมีขนาดต่างกัน 0.03 นิวตัน
4. มวลมีขนาดต่างกัน 0.03 กิโลกรัม
เฉลย 3.
9. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม วางนิ่งที่แนวเส้นตรง AB บนพื้นราบเกลี้ยง เส้น CD ขนานกับ AB และอยู่ห่างออกไป 36 เมตร เมื่อออกแรง F ขนาด 50 นิวตัน กระทำแก่วัตถุในทิศทางดังรูป แรง F กระทำไปกี่วินาทีวัตถุจึงจะเคลื่อนที่ถึงแนว CD พอดี
1. 2.45
2. 3
3. 3.46
4. 6
เฉลย 3.
10. วัตถุมวล 3 และ 1 กิโลกรัมวางติดกันบนพื้นเกลี้ยง เมื่อให้แรง F ขนาด 20 นิวตันกระทำต่อวัตถุมวล 3 กิโลกรัมในแนวขนานกับพื้นดังรูป ขนาดของแรงลัพธ์ที่กระทำต่อมวล 1 กิโลกรัมมีค่ากี่นิวตัน
1. 5
2. 10
3. 15
4. 20
เฉลย 1.
11. เด็กชายคนหนึ่งขว้างลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งเมื่อลูกบอลขึ้นไปได้สูง 5 เมตร อัตราเร็วของลูกบอลเท่ากับ 10 เมตรต่อวินาทีในแนวขึ้น อัตราเร็วเริ่มต้นและระยะสูงสุดที่ลูกบอลเคลื่อนที่ได้มีค่าเท่าใด
1. 10 m/s และ 10 m
2. 10 m/s และ 10 m
3. 10 m/s และ 10 m
4. 10 m/s และ 10 m
เฉลย 4.
12. วัตถุไถลไปตามพื้นเอียงด้วยความเร่งคงที่ a โดยพื้นเอียงทำมุม 45 องศากับแนวราบ จงหาค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
1.
2.
3.
4.
เฉลย 1.
13. มวล 3 ก้อน m1 , m2 และ m3 ผูกติดกันด้วยเชือกเบาวางบนพื้นราบที่ไม่มีความเสียดทาน ออกแรงดึง F เมื่อพิจารณาแรงดึงเชือกทั้ง 3 เส้น ข้อใดถูกต้อง
1. ถ้า m1 = m2 = m3 ได้ว่า T1 = T2 = T3
2. ถ้า m1 > m2 > m3 ได้ว่า T1 > T2 > T3
3. ถ้า m1 > m2 > m3 ได้ว่า T1 > T2 > T3
4. ถ้า m1 < m2 < m3 ได้ว่า T3 > T2 > T1
เฉลย 4.
14. ถ้ามีแรงขนาด 12 นิวตัน และ 16 นิวตัน กระทำต่อวัตถุซึ่งมีมวล 4.0 กิโลกรัม โดยแรงทั้งสองกระทำในทิศตั้งฉากซึ่งกันและกัน วัตถุนั้นจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร่งกี่เมตร/วินาที2
1. 3.0
2. 4.0
3. 5.0
4. 6.0
เฉลย 3.
15. แรงขนาดหนึ่งเมื่อกระทำต่อวัตถุซึ่งมีมวล m1 จะทำให้วัตถุนั้นมีความเร่ง 8 เมตร/วินาที2 เมื่อแรงขนาดเดียวกันนั้นกระทำต่อวัตถุซีงมีมวล m2 ทำให้วัตถุมีความเร่ง 32 เมตร/วินาที2 จงหาอัตราส่วนของ m2 ต่อ m1
1. 1:4
2. 4:1
3. 1:3
4. 3:1
เฉลย 1.
16. กราฟรูปใดเป็นไปตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน
1.
2.
3.
4.
เฉลย 1.
17. วัตถุสองก้อนมวล 5 และ 10 กิโลกรัม ผูกติดกันด้วยเชือกเบาวางบนพื้นราบไม่มีความเสียดทาน ถูกแรง F ค่าคงที่กระทำจากจุดหยุดนิ่งเป็นเวลานาน 20 วินาที จนมีความเร็วเป็น 40
1. 2:1
2. 3:1
3. 4:1
4. 5:1
5.
เฉลย 2.
18. วัตถุมวล 5 และ 10 กิโลกรัม ผูกติดกันด้วยเชือกเบา ดังรูป วัตถุทั้งสองวางอยู่บนพื้นราบไม่มีความฝืด ให้แรง F ซึ่งมีค่าคงตัวกระทำต่อวัตถุทั้งสอง หลังจากดึงได้นาน 15 วินาที วัตถุทั้งสองก็จะมีความเร็ว 45 เมตร/วินาที แรงดึงมวล 5 กิโลกรัม เป็นกี่นิวตัน
1. 5
2. 10
3. 15
4. 20
เฉลย 3.
19. มวล m1 , m2 และ m3 ผูกติดกันด้วยเชือกเบาและคล้องผ่านรอกเบา มวล m1 เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง จงหาแรงตึงในเส้นเชือก T ซึ่งอยู่ระหว่างมวล m2 และ m3 บนโต๊ะลื่น
1.
2.
3.
4.
เฉลย 1.
20. แรงคงตัวแรงหนึ่งเมื่อกระทำต่อวัตถุเป็นเวลานาน 1.2 วินาที ทำให้ความเร็วของวัตถุนั้นเปลี่ยนจาก 1.8 เมตร/วินาที เป็น 4.2 เมตร/วินาที ถ้าใช้แรงนี้กระทำต่อวัตถุเดิมเป็นเวลา 2 วินาที ความเร็วของวัตถุจะเปลี่ยนจาก 1.8 เมตร/วินาที เป็นเท่าใด ทั้งสองกรณีนี้ให้แรงกระทำในทิศทางเดียวกับทิศการเคลื่อนที่
1. 2.4 m/s
2. 4.8 m/s
3. 5.8 m/s
4. 6.8 m/s
เฉลย 3.
21. มีแรง F ขนาด 200 นิวตัน มากระทำต่อวัตถุ A และ B ดังรูป ทำให้วัตถุทั้งสองเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 4 เมตร/วินาที2 ถ้า B มีมวล 10 กิโลกรัม วัตถุ A จะหนักกี่นิวตัน
1. 40
2. 60
3. 400
4. 600
เฉลย 3.
22. เชือกเส้นหนึ่งทนแรงตึงได้ 50 นิวตัน ผูกไว้กับมวล 4 กิโลกรัม จะดึงมวลขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร่งได้มากที่สุดกี่เมตร/วินาที2เชือกจึงจะไม่ขาด
1. 2.5
2. 10
3. 12.5
4. 22.5
เฉลย 1.
23. วัตถุสองก้อนมวล 5 และ 10 กิโลกรัม ผูกติดกันด้วยเชือกเบาวางบนพื้นราบไม่มีความเสียดทาน ถูกแรง F ค่าคงที่กระทำจากจุดหยุดนิ่งเป็นเวลานาน 20 วินาที จนมีความเร็วเป็น 40 เมตร/วินาที อัตราส่วนของแรง F ต่อแรง T เป็นเท่าใด
1. 2:1
2. 3:1
3. 4:1
4. 5:1
เฉลย 2.
24. จากรูปวัตถุมวล M ถูกผูกติดกันกับมวล 2 กิโลกรัม ด้วยเชือกเส้นล่าง ขณะที่วัตถุทั้งสองถูกดึงขึ้นจากเชือกเส้นบนด้วยความเร่ง a เมตร/วินาที2ขนาดแรงดึงของเชือกเส้นล่าง (T) มีค่า 28 นิวตัน ถ้าในขณะนั้นขนาดของแรงดึงของเชือกเส้นบน(P)มีค่า 98 นิวตัน M มีค่าเป็นกี่กิโลกรัม
1. 4.0
2. 5.0
3. 6.0
4. 10
เฉลย 2.
25. นักกระโดดร่มมวล 65 กิโลกรัม ลงถึงพื้นดินด้วยการย่อตัว ขณะยืดตัวขึ้นจุดศูนย์กลางมวลของร่างกายมีขนาดความเร่ง 30 เมตร/วินาที2 แรงที่พื้นกระทำต่อเท้านักกระโดดร่มคนนี้เป็นเท่าใด
1. 650 N
2. 1300 N
3. 1950 N
4. 2600 N
เฉลย 4.
26. ลูกปืนมวล 4 กรัม ถูกยิงออกจากลำกล้องปืนด้วยอัตราเร็ว 300 เมตร/วินาที ทะลุแผ่นไม้หนา 4 ซม.ทำให้อัตราเร็วของลูกปืนขณะออกจากแผ่นไม้อีกด้านหนึ่งเท่ากับ 100 เมตร/วินาที ให้หาขนาดของแรงเฉลี่ยที่แผ่นไม้กระทำต่อลูกปืน
1. 4 X 103 นิวตัน
2. 4 X 104 นิวตัน
3. 4 X 105 นิวตัน
4. 4 X 106 นิวตัน
เฉลย 1.
27. จากรูป ผูกวัตถุด้วยเชือกเบา และพื้นไม่มีแรงเสียดทาน ถ้า T1 = 50 นิวตัน จงหาอัตราส่วนของแรง T2 : T3
1. 3:4
2. 5:8
3. 8:5
4. 25:1
เฉลย 3.
28. รถเข็นมวล 100 กิโลกรัม เดิมอยู่นิ่ง ถูกแรงในแนวระดับขนาด 50 นิวตัน ผลักให้เคลื่อนไปบนพื้นราบ ถ้าแรงเสียดทานที่กระทำต่อรถทั้งหมดเท่ากับ 30 นิวตัน ถามว่า ถ้าแรงกระทำเป็นเวลา 12 วินาที จะทำให้รถเข็นมีความเร็วเท่าใด
1. 2.4 m/s
2. 7.2 m/s
3. 9.6 m/s
4. 14.4 m/s
เฉลย 1.
29. กรอบรูปมวล m ถูกแขวนไว้ด้วยเชือก 2 เส้น โดยเชือกแต่ละเส้นยาว L และทำมุม θ กับกรอบรูปดังรูป ถ้ากรอบรูปนี้ถูกดึงให้เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง จงหาความตึงในเชือกแต่ละเส้น
1.
2.
3.
4.
เฉลย 1.
30. วัตถุมวล 3 กิโลกรัม วางอยู่บนโต๊ะที่ไม่มีความฝืดห่างจากขอบโต๊ะ 1 เมตร มวล 2 กิโลกรัม เป็นนอตอยู่สูงจากพื้น 0.5 เมตร เมื่อปล่อยให้มวลทั้งสองเคลื่อนที่แรงดึงเชือก T เป็นกี่นิวตัน
1. 4
2. 5
3. 8
4. 12
เฉลย 4.
จัดทำโดย
1. นางสาว เบญจรัตน์ ตะบุตร เลขที่ 6
2. นางสาว นันทนิต คบมิตร เลขที่ 10
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/7
1. บันไดยาว 2.5 เมตร มีน้ำหนัก 40 นิวตัน วางพิงกำแพงเกลี้ยง(ไม่คิดแรงเสียดทาน) จงหาว่าแรงเสียดทานระหว่างพื้นล่างกับบันได ที่ทำให้บันไดวางนิ่งอยู่ได้ ดังรูปมีค่ากี่นิวตัน
1. 120
2. 360
3. 400
4. 600
เฉลย ก.
1. ชายสองคนช่วยกันหามวัตถุมวล 90 กิโลกรัม ซึ่งแขวนอยู่ที่จุดกึ่งกลางคานสม่ำเสมอมวล 10 กิโลกรับ ถ้าชายคนที่หนึ่งแบกคานตรงตำแหน่งจากจุดที่แขวนวัตถุ 0.5 เมตร และรับน้ำหนัก 600 นิวตัน ชายคนที่สองจะแบกคานที่ตำแหน่งจากจุดแขวนวัตถุเท่าไร
1. 0.13 m
2. 0.25 m
3. 0.50 m
4. 0.75 m
เฉลย ง.
3. มวล 20 กิโลกรัม วางบนพื้นฝืดแรง F ดังรูป ที่ทำให้มวลนี้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ มีค่ากี่นิวตัน ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างพื้นกับมวลนี้เป็น 0.5
1. 90.90
2. 100
3. 125
4. 150
เฉลย 1.
4. ยิงลูกปืนมวล 12 กรัม ไปยังแท่งไม้ซึ่งตรึงยึดอยู่กับที่ ปรากฏว่าลูกปืนฝังเข้าไปในเนื้อไม้เป็นระยะ 5 เซนติเมตร ถ้าความเร็วของลูกปืนคือ 200 เมตร/วินาที แรงต้านทานเฉลี่ยของเนื้อไม้ต่อลูกปืนเป็นกี่นิวตัน
1. 4800
2. 6000
3. 9000
4. 12000
เฉลย 1.
5. มวล 3 ก้อน ขนาด 5 , 10 และ 15 กิโลกรัม วางโยงกันด้วยเชือกเบาและโต๊ไม่มีความเสียดทาน เมื่อปล่อยให้เคลื่อนที่ แรงลัพธ์ที่กระทำกับมวล 15 กิโลกรัม เป็นกี่นิวตัน
1. 10
2. 15
3. 20
4. 25
เฉลย 4.
6. สถานการณ์ข้างล่างต่อไปนี้
1. เมื่อคนโดยสารลงจากรถประจำทางในขณะที่รถกำลังเคลื่อนที่ คนโดยสารจะถลาไปข้างหน้า
2. คนยืนในรถ และรถกำลังเคลื่อนที่ไปข้างหน้า เมื่อหยุดรถอย่างกะทันหันเป็นเหตุให้คนในรถเซไปข้างหน้า
3. นักเรียนยืนบนสเกตโดยหันหน้าเข้าหากำแพง แล้วใช้มือผลักกำแพง ปรากฏว่าตัวนักเรียนเคลื่อนที่ถอยหลังออกห่างจากกำแพง
ข้อใดอธิบายได้ด้วยกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตัน
1. ข้อ 1 และ 2
2. ข้อ 2 และ 3
3. ข้อ 1 และ 3
4. ข้อ 3 เท่านั้น
เฉลย 4.
7. จากรูป แรง F1 และ F2 กระทำต่อวัตถุมวล 5 กิโลกรัม ให้เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง a รูปใดถูกต้อง
1.
2.
3.
4.
เฉลย 3.
8. สมมติว่ามีการจำลองมวลมาตรฐาน 1 กิโลกรัม จากกรุงปารีสมาไว้ที่กรุงเทพฯ น้ำหนักและมวลของมวลจำลองนี้ แตกต่างกับที่กรุงปารีสเท่าใด (ถ้า g ที่กรุงปารีสและกรุงเทพฯเป็น 9.81 และ 9.78 เมตร/วินาที2 ตามลำดับ)
1. มวลมีขนาดเท่ากันและน้ำหนักเท่ากัน
2. มวลมีขนาดต่างกัน 0.03 กิโลกรัมแต่
3. มวลมีขนาดเท่ากัน แต่น้ำหนักมีขนาดต่างกัน 0.03 นิวตัน
4. มวลมีขนาดต่างกัน 0.03 กิโลกรัม
เฉลย 3.
9. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม วางนิ่งที่แนวเส้นตรง AB บนพื้นราบเกลี้ยง เส้น CD ขนานกับ AB และอยู่ห่างออกไป 36 เมตร เมื่อออกแรง F ขนาด 50 นิวตัน กระทำแก่วัตถุในทิศทางดังรูป แรง F กระทำไปกี่วินาทีวัตถุจึงจะเคลื่อนที่ถึงแนว CD พอดี
1. 2.45
2. 3
3. 3.46
4. 6
เฉลย 3.
10. วัตถุมวล 3 และ 1 กิโลกรัมวางติดกันบนพื้นเกลี้ยง เมื่อให้แรง F ขนาด 20 นิวตันกระทำต่อวัตถุมวล 3 กิโลกรัมในแนวขนานกับพื้นดังรูป ขนาดของแรงลัพธ์ที่กระทำต่อมวล 1 กิโลกรัมมีค่ากี่นิวตัน
1. 5
2. 10
3. 15
4. 20
เฉลย 1.
11. เด็กชายคนหนึ่งขว้างลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งเมื่อลูกบอลขึ้นไปได้สูง 5 เมตร อัตราเร็วของลูกบอลเท่ากับ 10 เมตรต่อวินาทีในแนวขึ้น อัตราเร็วเริ่มต้นและระยะสูงสุดที่ลูกบอลเคลื่อนที่ได้มีค่าเท่าใด
1. 10 m/s และ 10 m
2. 10 m/s และ 10 m
3. 10 m/s และ 10 m
4. 10 m/s และ 10 m
เฉลย 4.
12. วัตถุไถลไปตามพื้นเอียงด้วยความเร่งคงที่ a โดยพื้นเอียงทำมุม 45 องศากับแนวราบ จงหาค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
1.
2.
3.
4.
เฉลย 1.
13. มวล 3 ก้อน m1 , m2 และ m3 ผูกติดกันด้วยเชือกเบาวางบนพื้นราบที่ไม่มีความเสียดทาน ออกแรงดึง F เมื่อพิจารณาแรงดึงเชือกทั้ง 3 เส้น ข้อใดถูกต้อง
1. ถ้า m1 = m2 = m3 ได้ว่า T1 = T2 = T3
2. ถ้า m1 > m2 > m3 ได้ว่า T1 > T2 > T3
3. ถ้า m1 > m2 > m3 ได้ว่า T1 > T2 > T3
4. ถ้า m1 < m2 < m3 ได้ว่า T3 > T2 > T1
เฉลย 4.
14. ถ้ามีแรงขนาด 12 นิวตัน และ 16 นิวตัน กระทำต่อวัตถุซึ่งมีมวล 4.0 กิโลกรัม โดยแรงทั้งสองกระทำในทิศตั้งฉากซึ่งกันและกัน วัตถุนั้นจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร่งกี่เมตร/วินาที2
1. 3.0
2. 4.0
3. 5.0
4. 6.0
เฉลย 3.
15. แรงขนาดหนึ่งเมื่อกระทำต่อวัตถุซึ่งมีมวล m1 จะทำให้วัตถุนั้นมีความเร่ง 8 เมตร/วินาที2 เมื่อแรงขนาดเดียวกันนั้นกระทำต่อวัตถุซีงมีมวล m2 ทำให้วัตถุมีความเร่ง 32 เมตร/วินาที2 จงหาอัตราส่วนของ m2 ต่อ m1
1. 1:4
2. 4:1
3. 1:3
4. 3:1
เฉลย 1.
16. กราฟรูปใดเป็นไปตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน
1.
2.
3.
4.
เฉลย 1.
17. วัตถุสองก้อนมวล 5 และ 10 กิโลกรัม ผูกติดกันด้วยเชือกเบาวางบนพื้นราบไม่มีความเสียดทาน ถูกแรง F ค่าคงที่กระทำจากจุดหยุดนิ่งเป็นเวลานาน 20 วินาที จนมีความเร็วเป็น 40
1. 2:1
2. 3:1
3. 4:1
4. 5:1
5.
เฉลย 2.
18. วัตถุมวล 5 และ 10 กิโลกรัม ผูกติดกันด้วยเชือกเบา ดังรูป วัตถุทั้งสองวางอยู่บนพื้นราบไม่มีความฝืด ให้แรง F ซึ่งมีค่าคงตัวกระทำต่อวัตถุทั้งสอง หลังจากดึงได้นาน 15 วินาที วัตถุทั้งสองก็จะมีความเร็ว 45 เมตร/วินาที แรงดึงมวล 5 กิโลกรัม เป็นกี่นิวตัน
1. 5
2. 10
3. 15
4. 20
เฉลย 3.
19. มวล m1 , m2 และ m3 ผูกติดกันด้วยเชือกเบาและคล้องผ่านรอกเบา มวล m1 เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง จงหาแรงตึงในเส้นเชือก T ซึ่งอยู่ระหว่างมวล m2 และ m3 บนโต๊ะลื่น
1.
2.
3.
4.
เฉลย 1.
20. แรงคงตัวแรงหนึ่งเมื่อกระทำต่อวัตถุเป็นเวลานาน 1.2 วินาที ทำให้ความเร็วของวัตถุนั้นเปลี่ยนจาก 1.8 เมตร/วินาที เป็น 4.2 เมตร/วินาที ถ้าใช้แรงนี้กระทำต่อวัตถุเดิมเป็นเวลา 2 วินาที ความเร็วของวัตถุจะเปลี่ยนจาก 1.8 เมตร/วินาที เป็นเท่าใด ทั้งสองกรณีนี้ให้แรงกระทำในทิศทางเดียวกับทิศการเคลื่อนที่
1. 2.4 m/s
2. 4.8 m/s
3. 5.8 m/s
4. 6.8 m/s
เฉลย 3.
21. มีแรง F ขนาด 200 นิวตัน มากระทำต่อวัตถุ A และ B ดังรูป ทำให้วัตถุทั้งสองเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 4 เมตร/วินาที2 ถ้า B มีมวล 10 กิโลกรัม วัตถุ A จะหนักกี่นิวตัน
1. 40
2. 60
3. 400
4. 600
เฉลย 3.
22. เชือกเส้นหนึ่งทนแรงตึงได้ 50 นิวตัน ผูกไว้กับมวล 4 กิโลกรัม จะดึงมวลขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร่งได้มากที่สุดกี่เมตร/วินาที2เชือกจึงจะไม่ขาด
1. 2.5
2. 10
3. 12.5
4. 22.5
เฉลย 1.
23. วัตถุสองก้อนมวล 5 และ 10 กิโลกรัม ผูกติดกันด้วยเชือกเบาวางบนพื้นราบไม่มีความเสียดทาน ถูกแรง F ค่าคงที่กระทำจากจุดหยุดนิ่งเป็นเวลานาน 20 วินาที จนมีความเร็วเป็น 40 เมตร/วินาที อัตราส่วนของแรง F ต่อแรง T เป็นเท่าใด
1. 2:1
2. 3:1
3. 4:1
4. 5:1
เฉลย 2.
24. จากรูปวัตถุมวล M ถูกผูกติดกันกับมวล 2 กิโลกรัม ด้วยเชือกเส้นล่าง ขณะที่วัตถุทั้งสองถูกดึงขึ้นจากเชือกเส้นบนด้วยความเร่ง a เมตร/วินาที2ขนาดแรงดึงของเชือกเส้นล่าง (T) มีค่า 28 นิวตัน ถ้าในขณะนั้นขนาดของแรงดึงของเชือกเส้นบน(P)มีค่า 98 นิวตัน M มีค่าเป็นกี่กิโลกรัม
1. 4.0
2. 5.0
3. 6.0
4. 10
เฉลย 2.
25. นักกระโดดร่มมวล 65 กิโลกรัม ลงถึงพื้นดินด้วยการย่อตัว ขณะยืดตัวขึ้นจุดศูนย์กลางมวลของร่างกายมีขนาดความเร่ง 30 เมตร/วินาที2 แรงที่พื้นกระทำต่อเท้านักกระโดดร่มคนนี้เป็นเท่าใด
1. 650 N
2. 1300 N
3. 1950 N
4. 2600 N
เฉลย 4.
26. ลูกปืนมวล 4 กรัม ถูกยิงออกจากลำกล้องปืนด้วยอัตราเร็ว 300 เมตร/วินาที ทะลุแผ่นไม้หนา 4 ซม.ทำให้อัตราเร็วของลูกปืนขณะออกจากแผ่นไม้อีกด้านหนึ่งเท่ากับ 100 เมตร/วินาที ให้หาขนาดของแรงเฉลี่ยที่แผ่นไม้กระทำต่อลูกปืน
1. 4 X 103 นิวตัน
2. 4 X 104 นิวตัน
3. 4 X 105 นิวตัน
4. 4 X 106 นิวตัน
เฉลย 1.
27. จากรูป ผูกวัตถุด้วยเชือกเบา และพื้นไม่มีแรงเสียดทาน ถ้า T1 = 50 นิวตัน จงหาอัตราส่วนของแรง T2 : T3
1. 3:4
2. 5:8
3. 8:5
4. 25:1
เฉลย 3.
28. รถเข็นมวล 100 กิโลกรัม เดิมอยู่นิ่ง ถูกแรงในแนวระดับขนาด 50 นิวตัน ผลักให้เคลื่อนไปบนพื้นราบ ถ้าแรงเสียดทานที่กระทำต่อรถทั้งหมดเท่ากับ 30 นิวตัน ถามว่า ถ้าแรงกระทำเป็นเวลา 12 วินาที จะทำให้รถเข็นมีความเร็วเท่าใด
1. 2.4 m/s
2. 7.2 m/s
3. 9.6 m/s
4. 14.4 m/s
เฉลย 1.
29. กรอบรูปมวล m ถูกแขวนไว้ด้วยเชือก 2 เส้น โดยเชือกแต่ละเส้นยาว L และทำมุม θ กับกรอบรูปดังรูป ถ้ากรอบรูปนี้ถูกดึงให้เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง จงหาความตึงในเชือกแต่ละเส้น
1.
2.
3.
4.
เฉลย 1.
30. วัตถุมวล 3 กิโลกรัม วางอยู่บนโต๊ะที่ไม่มีความฝืดห่างจากขอบโต๊ะ 1 เมตร มวล 2 กิโลกรัม เป็นนอตอยู่สูงจากพื้น 0.5 เมตร เมื่อปล่อยให้มวลทั้งสองเคลื่อนที่แรงดึงเชือก T เป็นกี่นิวตัน
1. 4
2. 5
3. 8
4. 12
เฉลย 4.
ข้อสอบฟิสิกส์ O-NET ปี 2552
ข้อสอบฟิสิกส์ O-NET ปี 2552
1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้ทำให้การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นการตกแบบเสรี กำหนดให้ การเคลื่อนที่ทุกข้อ
ไม่คิดแรงต้านอากาศ
1. โยนก้อนหินขึ้นไปในแนวดิ่ง
2. ปล่อยลูกกอล์ฟจากยอดตึกให้ตกลงมาในแนวดิ่ง
3. ยิงลูกปืนจากยอดหน้าผาออกไปในแนวระดับ
4. ผูกถุงทรายเข้ากับสปริงในแนวดิ่งซึ่งตึงไว้กับเพดาน ดันถุงทราบขึ้นแล้วปล่อย
2. วัตถุ A มีมวล 10 กิโลกรัม วางอยู่นิ่งบนพื้น ส่วนวัตถุ B ซึ่งมีมวลเท่ากัน กำลังตกลงสู่พื้นโลก
ถ้าไม่คิดแรงต้านของอากาศ และกำหนดให้ทั้ง A และ B อยู่ในบริเวณที่ขนาดสนามโน้มถ่วง
ของโลกเท่ากับ 9.8 นิวตัน/กิโลกรัม ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. วัตถุทั้งสองมีน้ำหนักเท่ากัน
2. วัตถุทั้งสองมีอัตราเร่งในแนวดิ่งเท่ากัน คือ 9.8 เมตร/วินาที 2
3. แรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทำต่อวัตถุ A มีขนาดเท่ากับ 98 นิวตัน
4. แรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทำต่อวัตถุ B มีขนาดเท่ากับ 98 นิวตัน
3.
45. 4 46. 2 47. 3 48. 2 49. 4 50. 3
51. 1 52. 3 53. 2 54. 2 55. 1 56. 3 57. 2 58. 1 59. 4 60. 4
61. 1 62. 2 63. 4 64. 3 65. 3 66. 1 67. 1 68. 3 69. 4 70. 2
1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้ทำให้การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นการตกแบบเสรี กำหนดให้ การเคลื่อนที่ทุกข้อ
ไม่คิดแรงต้านอากาศ
1. โยนก้อนหินขึ้นไปในแนวดิ่ง
2. ปล่อยลูกกอล์ฟจากยอดตึกให้ตกลงมาในแนวดิ่ง
3. ยิงลูกปืนจากยอดหน้าผาออกไปในแนวระดับ
4. ผูกถุงทรายเข้ากับสปริงในแนวดิ่งซึ่งตึงไว้กับเพดาน ดันถุงทราบขึ้นแล้วปล่อย
2. วัตถุ A มีมวล 10 กิโลกรัม วางอยู่นิ่งบนพื้น ส่วนวัตถุ B ซึ่งมีมวลเท่ากัน กำลังตกลงสู่พื้นโลก
ถ้าไม่คิดแรงต้านของอากาศ และกำหนดให้ทั้ง A และ B อยู่ในบริเวณที่ขนาดสนามโน้มถ่วง
ของโลกเท่ากับ 9.8 นิวตัน/กิโลกรัม ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. วัตถุทั้งสองมีน้ำหนักเท่ากัน
2. วัตถุทั้งสองมีอัตราเร่งในแนวดิ่งเท่ากัน คือ 9.8 เมตร/วินาที 2
3. แรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทำต่อวัตถุ A มีขนาดเท่ากับ 98 นิวตัน
4. แรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทำต่อวัตถุ B มีขนาดเท่ากับ 98 นิวตัน
3.
45. 4 46. 2 47. 3 48. 2 49. 4 50. 3
51. 1 52. 3 53. 2 54. 2 55. 1 56. 3 57. 2 58. 1 59. 4 60. 4
61. 1 62. 2 63. 4 64. 3 65. 3 66. 1 67. 1 68. 3 69. 4 70. 2
โจทย์ฟิสิกส์ ความคลาดเคลื่อน
เฉลยให้หน่อยนะครับ
ในการทดลองวัดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อโลหะ วัดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกได้ d1 = (64 + 2) ม.ม. และ
เส้นผ่าศูนย์ กลางภายในได้ d2 = (47 + 1) ม.ม. เปอร์เซ็นต์ของความคลาดเคลื่อนสูงสุดของ
(d1 - d2) คือข้อใด
1. 1% 2. 5%
3. 6% 4. 18%
ในการทดลองวัดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อโลหะ วัดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกได้ d1 = (64 + 2) ม.ม. และ
เส้นผ่าศูนย์ กลางภายในได้ d2 = (47 + 1) ม.ม. เปอร์เซ็นต์ของความคลาดเคลื่อนสูงสุดของ
(d1 - d2) คือข้อใด
1. 1% 2. 5%
3. 6% 4. 18%
เลขนัยสำคัญ(SIGNIFICANT)
เลขนัยสำคัญ(SIGNIFICANT)
เลขนัยสำคัญ คือ เลขที่มีความสำคัญหรือความหมายต่อการวัดหรือการทดลอง เพราะว่าการทกลองในวิทยาศาสตร์ย่อมมีการวัดและต้องอ่านค่าจากเครื่องมือวัดออกมาเป็นตัวเลขที่บอกความหมาย ดังนั้นเลขนัยสำคัญจะเป็นตัวชี้บอกข้อมูลทที่วัดได้ ได้ละเอียดขนาดไหน
หลักการนับเลขนัยสำคัญ
1.ตัวเลขทุกตัวที่ไม่ใช่0เป็นเลขนัยสำคัญ
ตัวอย่างเช่น
3.2 มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
16 มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
2.46 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
162 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
2.ตัวเลข0ที่อยู่ระหว่างเลขนัยสำคัญถือเป็นเลขนัยสำคัญ
ตัวอย่างเช่น
506 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
2.05 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
3.เลข0เมื่ออยู่สุดปลายทางด้านขวาโดยอยู่หลังจุดทศนิยมถือเป็นเลขนัยสำคัญ
ตัวอย่างเช่น
2.0 มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
3.00 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
4.เลข0ที่อยู่ทางขวาของเลขจำนวนเต็มใดๆอาจบอกเป็นเลขนัยสำคัญไม่ชัดเจนถ้าต้องการย้ำให้เกิดความชัดเจนควรเขียนให้อยู่ในเลขยกกำลัง
ตัวอย่างเช่น
3600 = 3.600x10กำลัง3 มีเลขนัยสำคัญ 4 ตัว
3600 = 3.60x10กำลัง3 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
3600 = 3.6x10กำลัง3 มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
5.เลข0เมื่ออยู่ปลายซ้ายสุดหน้าตัวเลขอื่นๆถือว่าไม่ใช่เลขนัยสำคัญ
ตัวอย่างเช่น
0.0002 หรือ 2x10กำลัง-4 มีเลขนัยสำคัญ 1 ตัว
0.00238x10กำลัง-3 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
56 มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
การบวกและการลบเลขนัยสำคัญ ผลลัพธ์จากการบวกลบเลขนัยสำคัญจะต้องมีจำนวนตัวเลขหลังจากจุดทศนิยมเท่ากับจำนวนตัวเลขหลังจุดทศนิยมที่น้อยที่สุดของกลุ่มตัวเลขที่นำมาบวก หรือลบกัน ตัวอย่างเช่น
ตัวอย่างที่1
4.20+1.632+0.015 = 5.838
จากตัวเลขนัยสำคัญ5.838ควรตอบเป็น5.84
ตัวอย่างที่2
1.2+62.543+10.12 = 73.863
จากตัวเลขนัยสำคัญ73.863ควรตอบเป็น73.9
ตัวอย่างที่3
5.6732+3.12-4.6-3.802 = 0.3912
จากตัวเลข0.3910ควรตอบเป็น0.4
อธิบายกันมาแล้วที่นี่ก็ต้องลองเชิงความรู้จากที่เรียนไปข้างบนนะครับต่อไปคือโจทย์คำถาม
1. 454กรัม มีเลขนัยสำคัญ..........ตัว
2. 2.1นิวตัน มีเลขนัยสำคัญ..........ตัว
3. 2.205นิวตัน มีเลขนัยสำคัญ..........ตัว
4. 0.3937เมตร มีเลขนัยสำคัญ..........ตัว
5. 1.6725x10กำลัง-18 มีเลขนัยสำคัญ..........ตัว
6. 0.0353เมตร มีเลขนัยสำคัญ..........ตัว
7. 14.9มิลลิเมตร มีเลขนัยสำคัญ..........ตัว
8. 246500เขียนเป็นเลขนัยสำคัญ3ตัวได้คือ
ก. 2..46500x10กำลัง5
ข. 2.4650x10กำลัง5
ค. 2.465x10กำลัง5
ง. 2.47x10กำลัง5
9ข้อใดต่อไปนี้มีเลขนัยสำคัญ3ตัว
ก. 0.070
ข. 2.0x10กำลัง2
ค. 0.009
ง. 4.50x10กำลัง-2
10.ผลลบของ596.35กับ32.1มีค่าเท่าไร
ก. 564.25
ข. 564.2
ค. 564.3
ง. 564
***ขอจบหลักสูตรเลขนัยสำคัญแต่เพียงเท่านี้ครับ
อ้างอิงจากเอกสารประกอบการเรียนของผมตอนม.4
ปล.สำหรับผู้ที่อ่านแล้วคิดว่าพอเข้าใจก็ทำโจทย์มาด้วยนะครับแล้วผมจะมาเฉลยให้
ที่มา http://www.gnv3.net/bbs/viewthread.php?tid=93207
เลขนัยสำคัญ คือ เลขที่มีความสำคัญหรือความหมายต่อการวัดหรือการทดลอง เพราะว่าการทกลองในวิทยาศาสตร์ย่อมมีการวัดและต้องอ่านค่าจากเครื่องมือวัดออกมาเป็นตัวเลขที่บอกความหมาย ดังนั้นเลขนัยสำคัญจะเป็นตัวชี้บอกข้อมูลทที่วัดได้ ได้ละเอียดขนาดไหน
หลักการนับเลขนัยสำคัญ
1.ตัวเลขทุกตัวที่ไม่ใช่0เป็นเลขนัยสำคัญ
ตัวอย่างเช่น
3.2 มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
16 มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
2.46 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
162 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
2.ตัวเลข0ที่อยู่ระหว่างเลขนัยสำคัญถือเป็นเลขนัยสำคัญ
ตัวอย่างเช่น
506 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
2.05 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
3.เลข0เมื่ออยู่สุดปลายทางด้านขวาโดยอยู่หลังจุดทศนิยมถือเป็นเลขนัยสำคัญ
ตัวอย่างเช่น
2.0 มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
3.00 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
4.เลข0ที่อยู่ทางขวาของเลขจำนวนเต็มใดๆอาจบอกเป็นเลขนัยสำคัญไม่ชัดเจนถ้าต้องการย้ำให้เกิดความชัดเจนควรเขียนให้อยู่ในเลขยกกำลัง
ตัวอย่างเช่น
3600 = 3.600x10กำลัง3 มีเลขนัยสำคัญ 4 ตัว
3600 = 3.60x10กำลัง3 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
3600 = 3.6x10กำลัง3 มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
5.เลข0เมื่ออยู่ปลายซ้ายสุดหน้าตัวเลขอื่นๆถือว่าไม่ใช่เลขนัยสำคัญ
ตัวอย่างเช่น
0.0002 หรือ 2x10กำลัง-4 มีเลขนัยสำคัญ 1 ตัว
0.00238x10กำลัง-3 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
56 มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
การบวกและการลบเลขนัยสำคัญ ผลลัพธ์จากการบวกลบเลขนัยสำคัญจะต้องมีจำนวนตัวเลขหลังจากจุดทศนิยมเท่ากับจำนวนตัวเลขหลังจุดทศนิยมที่น้อยที่สุดของกลุ่มตัวเลขที่นำมาบวก หรือลบกัน ตัวอย่างเช่น
ตัวอย่างที่1
4.20+1.632+0.015 = 5.838
จากตัวเลขนัยสำคัญ5.838ควรตอบเป็น5.84
ตัวอย่างที่2
1.2+62.543+10.12 = 73.863
จากตัวเลขนัยสำคัญ73.863ควรตอบเป็น73.9
ตัวอย่างที่3
5.6732+3.12-4.6-3.802 = 0.3912
จากตัวเลข0.3910ควรตอบเป็น0.4
อธิบายกันมาแล้วที่นี่ก็ต้องลองเชิงความรู้จากที่เรียนไปข้างบนนะครับต่อไปคือโจทย์คำถาม
1. 454กรัม มีเลขนัยสำคัญ..........ตัว
2. 2.1นิวตัน มีเลขนัยสำคัญ..........ตัว
3. 2.205นิวตัน มีเลขนัยสำคัญ..........ตัว
4. 0.3937เมตร มีเลขนัยสำคัญ..........ตัว
5. 1.6725x10กำลัง-18 มีเลขนัยสำคัญ..........ตัว
6. 0.0353เมตร มีเลขนัยสำคัญ..........ตัว
7. 14.9มิลลิเมตร มีเลขนัยสำคัญ..........ตัว
8. 246500เขียนเป็นเลขนัยสำคัญ3ตัวได้คือ
ก. 2..46500x10กำลัง5
ข. 2.4650x10กำลัง5
ค. 2.465x10กำลัง5
ง. 2.47x10กำลัง5
9ข้อใดต่อไปนี้มีเลขนัยสำคัญ3ตัว
ก. 0.070
ข. 2.0x10กำลัง2
ค. 0.009
ง. 4.50x10กำลัง-2
10.ผลลบของ596.35กับ32.1มีค่าเท่าไร
ก. 564.25
ข. 564.2
ค. 564.3
ง. 564
***ขอจบหลักสูตรเลขนัยสำคัญแต่เพียงเท่านี้ครับ
อ้างอิงจากเอกสารประกอบการเรียนของผมตอนม.4
ปล.สำหรับผู้ที่อ่านแล้วคิดว่าพอเข้าใจก็ทำโจทย์มาด้วยนะครับแล้วผมจะมาเฉลยให้
ที่มา http://www.gnv3.net/bbs/viewthread.php?tid=93207
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)