การบันทึกตัวเลขที่เหมาะสม ต้องบันทึกตามค่าที่อ่านได้จริงจากเครื่องมือวัด และประมาณตัวเลขต่อท้ายอีก 1 ตัว เพื่อให้
ผลการวัดใกล้เคียงความจริงมากที่สุด
คำอุปสรรค์ (prefixes)
คำอุปสรรค์ (prefixes)
คำอุปสรรค (prefixes) เมื่อค่าในหน่วยฐานหรือหน่วยอนุพัทธ์น้อยหรือมากเกินไปเราอาจเขียนค่านั้นอยู่ในรูปตัวเลขคูณ ด้วย ตัวพหุคูณ (ตัวพหุคูณ คือ เลขสิบยกกำลังบวกหรือลบ) ได้ เช่น ระยะทาง 0.002 เมตร เขียนเป็น เมตร แทนด้วยคำอุปสรรค มิลลิ (m) ดังนั้นระยะทาง 0.002 เมตร อาจเขียนได้ว่า 2 มิลลิเมตร คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณและสัญลักษณ์ แสดงไว้ในตาราง
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
ตัวพหุคูณ ชื่อ สัญลักษณ์
เอกซะ (exa) E
เพตะ (peta) P
เทระ (tera) T
จิกะ (giga) G
เมกะ (mega) M
กิโล (kilo) k
เฮกโต (hecto) h
เดคา (deca) da
เดซิ (deci) d
เซนติ (centi) c
มิลลิ (milli) m
ไมโคร (micro)
นาโน (nano) n
ฟิโก (pico) p
เฟมโต (femto) f
อัตโต (atto) a
ประโยชน์ของคำอุปสรรค์ ช่วยเปลี่ยนหน่วยให้เหมาะสม กะทัดรัด สวยงาม
คำอุปสรรค (prefixes) เมื่อค่าในหน่วยฐานหรือหน่วยอนุพัทธ์น้อยหรือมากเกินไปเราอาจเขียนค่านั้นอยู่ในรูปตัวเลขคูณ ด้วย ตัวพหุคูณ (ตัวพหุคูณ คือ เลขสิบยกกำลังบวกหรือลบ) ได้ เช่น ระยะทาง 0.002 เมตร เขียนเป็น เมตร แทนด้วยคำอุปสรรค มิลลิ (m) ดังนั้นระยะทาง 0.002 เมตร อาจเขียนได้ว่า 2 มิลลิเมตร คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณและสัญลักษณ์ แสดงไว้ในตาราง
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
ตัวพหุคูณ ชื่อ สัญลักษณ์
เอกซะ (exa) E
เพตะ (peta) P
เทระ (tera) T
จิกะ (giga) G
เมกะ (mega) M
กิโล (kilo) k
เฮกโต (hecto) h
เดคา (deca) da
เดซิ (deci) d
เซนติ (centi) c
มิลลิ (milli) m
ไมโคร (micro)
นาโน (nano) n
ฟิโก (pico) p
เฟมโต (femto) f
อัตโต (atto) a
ประโยชน์ของคำอุปสรรค์ ช่วยเปลี่ยนหน่วยให้เหมาะสม กะทัดรัด สวยงาม
หน่วยอนุพัทธ์ (Derived Units)
หน่วยอนุพัทธ์ (Derived Units)
หน่วยเสริม เป็นหน่วยซึ่งมีหน่วยฐานหลายหน่วยมาเกี่ยวข้องกัน เช่น หน่วยของความเร็ว เป็น เมตร / วินาที ซึ่งมีเมตรและวินาทีเป็นหน่วยฐาน หน่วยนี้มีอยู่หลายหน่วย และบางหน่วยก็ใช้ชื่อสัญลักษณ์
หน่วยเสริม เป็นหน่วยซึ่งมีหน่วยฐานหลายหน่วยมาเกี่ยวข้องกัน เช่น หน่วยของความเร็ว เป็น เมตร / วินาที ซึ่งมีเมตรและวินาทีเป็นหน่วยฐาน หน่วยนี้มีอยู่หลายหน่วย และบางหน่วยก็ใช้ชื่อสัญลักษณ์
หน่วยเสริม (Supplimentry Units)
หน่วยเสริม (Supplimentry Units)
หน่วยเสริมของระบบ SI มี 2 หน่วย คือ
1. เรเดียน (Radian : rad) เป็นหน่วยวัดมุมในระนาบ โดย 1 เรเดียน คือ มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมที่รองรับ ความยาวส่วนโค้งที่มีความยาวเท่ากับรัศมี
2. สเตอเรเดียน (Steradian : sr) เป็นหน่วยวัดมุมตัน โดย 1 สเตอเรเดียน คือ มุมที่จุดศูนย์กลางของทรงกลมที่รองรับพื้นที่ผิวโค้งที่มีพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านเท่า
หน่วยเสริมของระบบ SI มี 2 หน่วย คือ
1. เรเดียน (Radian : rad) เป็นหน่วยวัดมุมในระนาบ โดย 1 เรเดียน คือ มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมที่รองรับ ความยาวส่วนโค้งที่มีความยาวเท่ากับรัศมี
2. สเตอเรเดียน (Steradian : sr) เป็นหน่วยวัดมุมตัน โดย 1 สเตอเรเดียน คือ มุมที่จุดศูนย์กลางของทรงกลมที่รองรับพื้นที่ผิวโค้งที่มีพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านเท่า
หน่วยฐาน
หน่วยฐาน
เป็นหน่วยหลักของเอสไอ มีทั้งหมด 7 หน่วย ดังตาราง 1
ตาราง 1 แสดงชื่อและสัญลักษณ์ของหน่วยฐาน
ปริมาณฐาน (Base Quantites) ชื่อหน่วย (Unit) สัญญลักษณ์ (Symbol)
ความยาว (Length) เมตร m
มวล (Mass) กิโลกรัม kg
เวลา (Time) วินาที s
กระแสไฟฟ้า (Electric Current) แอมแปร์ A
อุณหภูมิอุณหพลวัติ (Thermidynamic Temperature) เคลวิน K
ปริมาณของสาร (Amount of Substance) โมล mol
ความเข้มของการส่องสว่าง (Luminous Intersity) แคนเดลา cd
เป็นหน่วยหลักของเอสไอ มีทั้งหมด 7 หน่วย ดังตาราง 1
ตาราง 1 แสดงชื่อและสัญลักษณ์ของหน่วยฐาน
ปริมาณฐาน (Base Quantites) ชื่อหน่วย (Unit) สัญญลักษณ์ (Symbol)
ความยาว (Length) เมตร m
มวล (Mass) กิโลกรัม kg
เวลา (Time) วินาที s
กระแสไฟฟ้า (Electric Current) แอมแปร์ A
อุณหภูมิอุณหพลวัติ (Thermidynamic Temperature) เคลวิน K
ปริมาณของสาร (Amount of Substance) โมล mol
ความเข้มของการส่องสว่าง (Luminous Intersity) แคนเดลา cd
หน่วยการวัด
หน่วยการวัด
ในปี พ.ศ. 2503 ได้มีการประชุมร่วมกันของนักวิทยาศาสตร์ จากหลาย ๆ ประเทศเพื่อตกลงให้มีระบบการวัดปริมาณต่าง ๆ เป็นระบบมาตรฐาน ที่เรียกว่า หน่วยระหว่างชาติ (International System of Unit หรือ System - International d' Unit) และกำหนดให้ใช้อักษรย่อแทนชื่อระบบนี้ว่า "SI" หรือ หน่วย เอสไอ (SI Unit) เพื่อใช้ในการวัดทางวิทยาศาสตร์
ระบบหน่วยระหว่างชาติ หรือ เอสไอ ประกอบด้วย
1. หน่วยฐาน
2. หน่วยเสริม
3. หน่วยอนุพัทธ์
4. คำอุปสรรค์
ในปี พ.ศ. 2503 ได้มีการประชุมร่วมกันของนักวิทยาศาสตร์ จากหลาย ๆ ประเทศเพื่อตกลงให้มีระบบการวัดปริมาณต่าง ๆ เป็นระบบมาตรฐาน ที่เรียกว่า หน่วยระหว่างชาติ (International System of Unit หรือ System - International d' Unit) และกำหนดให้ใช้อักษรย่อแทนชื่อระบบนี้ว่า "SI" หรือ หน่วย เอสไอ (SI Unit) เพื่อใช้ในการวัดทางวิทยาศาสตร์
ระบบหน่วยระหว่างชาติ หรือ เอสไอ ประกอบด้วย
1. หน่วยฐาน
2. หน่วยเสริม
3. หน่วยอนุพัทธ์
4. คำอุปสรรค์
ค่าความชันของกราฟ
จากความสัมพันธ์ของปริมาณ 2 ปริมาณ เขียนเป็นสมการได้ว่า 2x + 3y = 6 เมื่อนำไปเขียนกราฟระบบพิกัดฉากจะได้กราฟที่มีค่าความชันของกราฟเท่ากับ.....
เลขนัยสำคัญคืออะไร
เลขนัยสำคัญคืออะไร
Answer เลขที่อ่านได้จากเครื่องมือวัดแบบขีดสเกลรวมกับตัวเลขที่ประมาณ 1 ตัว
Answer เลขที่อ่านได้จากเครื่องมือวัดแบบขีดสเกลรวมกับตัวเลขที่ประมาณ 1 ตัว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)